Page 28 - คู่มือการจัดทำเป้าหมายตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Land Degradation Neutrality: LDN) ระดับพื้นที่
P. 28

22


                    3.2.3 ตัวชี้วัดกำรกักเก็บคำร์บอนอินทรีย์ในดิน (Soil Organic Carbon Stock: SOC Stock)
                         1) ตรวจสอบเอกสาร และรวบรวมข้อมูลแผนที่ในอดีต ได้แก่ รายงานผลการศึกษาวิจัยเกี่ยวกับ

               อินทรียวัตถุในดิน จุดเก็บตัวอย่างดินพร้อมผลการวิเคราะห์สมบัติของดิน (โครงการ 1 ตัวอย่างดิน 1 หมู่บ้าน
               ปี พ.ศ. 2552) แผนที่ชุดดิน แผนที่อินทรียวัตถุในดิน และแผนที่ขอบเขตพื้นที่ศึกษา เป็นต้น
                         2) ก าหนดจุดเก็บตัวอย่างดิน โดยวิเคราะห์ข้อมูลจากแผนที่ชุดดิน และแผนที่การใช้ประโยชน์
               ที่ดิน จ านวนตัวอย่างดิน ประมาณ 1 จุด ต่อพื้นที่ 20,000  ไร่ หรือ 30 ตารางกิโลเมตร (ขึ้นอยู่กับสภาพภูมิ

               ประเทศและขนาดพื้นที่ของแต่ละจังหวัด)
                         3) วางแผนส ารวจ และจัดเก็บตัวอย่างดิน ในปีปัจจุบัน (ปี พ.ศ. 2565) กระจายตามประเภทดิน
               (วัตถุต้นก าเนินดิน เนื้อดิน และการระบายน้ าของดิน) ประเภทการใช้ประโยชน์ที่ดิน (ป่าไม้ ทุ่งหญ้า
               และเกษตรกรรม) ที่ระดับความลึก 0-15 เซนติเมตร และ 15-30 เซนติเมตร ครอบคลุมทั้งพื้นที่ศึกษา โดยเก็บ

               ตัวอย่างดินใน 2 รูปแบบ คือ
                              (1) ตัวอย่างดินแบบทั่วไป ด้วยการรบกวนโครงสร้างดิน (disturbed  soil  sampling)
               ส าหรับการวิเคราะห์ปริมาณอินทรียวัตถุในดิน (organic matter content: OM) โพแทสเซียมที่เป็นประโยชน์
               (potassium: K) ฟอสฟอรัสที่เป็นประโยชน์ (phosphorus: P) ปฏิกิริยาดิน (pH) หรือ ความเป็นกรดเป็นด่าง

               และค่าการน าไฟฟ้า (electrical conductivity: EC)
                              (2) ตัวอย่างดินแบบไม่รบกวนโครงสร้างของดิน (undisturbed soil sampling) โดยเก็บตัวอย่างดินด้วย
               กระบอกเก็บดิน (soil core) ส าหรับการวิเคราะห์ความหนาแน่นดิน (bulk density) และความชื้นดิน (water content)

                         4)  ตรวจสอบความถูกต้องของข้อมูลพิกัด ผลการวิเคราะห์ดิน และความสอดคล้องกับสมบัติของ
               ดินตามสมบัติพื้นฐานของชุดดิน
                         5) จัดท าฐานข้อมูลดินในระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ 2      ช่วงเวลา คือ ช่วงปี พ.ศ. 2552
               และ 2565 โดยการเชื่อมโยงข้อมูลสมบัติที่ได้จากการวิเคราะห์ กับจุดเก็บตัวอย่างดิน เพื่อน าไปจัดท าแผนที่
               ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ในดิน

                         6) วิเคราะห์ปริมาณการกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ในดิน (ตันคาร์บอนต่อไร่) ในแต่ละจุดเก็บตัวอย่างดิน
               และประมาณค่าเชิงพื้นที่ด้วยวิธีทางสถิติ (geo-statistics) ด้วยระบบสารสนเทศภูมิศาสตร์ โดยการประเมินใน
               ครั้งนี้เลือกใช้วิธีการถ่วงน้ าหนักตามระยะทางผกผัน (inverse distance weighing: IDW)

                         7) ปรับปรุงแผนที่การกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ในดิน ในส่วนของพื้นที่ป่าไม้ ที่อยู่ในเขตอุทยาน
               แห่งชาติ ซึ่งเป็นพื้นที่สงวนรักษาทรัพยากรธรรมชาติ ตามกฎหมาย จึงไม่มีการจัดเก็บข้อมูลตัวอย่างดิน
                         8) จัดท าแผนที่การกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ในดิน ของปี พ.ศ. 2552  และ 2565  โดยการแบ่ง
               ระดับชั้นของปริมาณการกักเก็บคาร์บอนอินทรีย์ในดิน ปรับปรุงจากเกณฑ์การจัดระดับชั้นของอินทรียวัตถุ

               ในดินของกรมพัฒนาที่ดิน ดังตารางที่ 6

               ตำรำงที่ 6 ระดับปริมำณกำรกักเก็บคำร์บอนในดิน

                                                  ระดับกำรกักเก็บคำร์บอน     ปริมำณกำรกักเก็บ
                  ล ำดับ        สัญลักษณ์
                                                         ในดิน               (ตันคำร์บอนต่อไร่)
                   1                                     ต่ ามาก                  0 – 2

                   2                                      ต่ า                    2 – 5
                   3                                    ปานกลาง                   5 – 8
                   4                                   ค่อนข้างสูง                8 - 12
                   5                                      สูง                    12 - 16
                   6                                     สูงมาก                   > 16
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33