Page 32 - คู่มือการจัดทำเป้าหมายตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Land Degradation Neutrality: LDN) ระดับพื้นที่
P. 32
26
ลดการสูญเสียคาร์บอน - ส่งเสริมมาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าวิธีกลและวิธีพืช - กรมพัฒนาที่ดิน
ในดิน และเพิ่มปริมาณ การปรับปรุงบ ารุงดินที่ถูกวิธี และเหมาะสมในพื้นที่ - กรมอุทยานแห่งชาติ
การกักเก็บคาร์บอน เกษตรกรรมแบบพื้นที่ลาดชัน และที่ราบลุ่ม สัตว์ป่า และพันธุ์พืช
ในดิน ด้วยการอนุรักษ์ - ส่งเสริมการลดการเผาตอซังพืช ควบคุมการเผาป่า - กรมป่าไม้
ดินและน้ า โดยสร้างการ และการจัดการวัสดุเหลือใช้ทางการเกษตร
รับรู้ และการมีส่วนร่วม - ศึกษา พัฒนาฐานข้อมูลผลิตภาพของดิน และปริมาณ
ของชุมชนในการจัดการ คาร์บอนในดินระดับประเทศ ภายในปี 2565
ที่ดิน
3.5 กำรรับฟังควำมคิดเห็นจำกผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
จากการประเมินความเสื่อมโทรมของที่ดินตามตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน
ท าให้ทราบระดับความรุนแรงของความเสื่อมโทรม สาเหตุและปัจจัยที่เกิดขึ้น จนน าไปสู่แนวทางการก าหนด
มาตรการจัดการความเสื่อมโทรมของที่ดิน โดนผ่านกระบวนการมีส่วนร่วมของชุมชน และผู้มีส่วนได้ส่วนเสีย
ทุกภาคส่วนในการด าเนินโครงการจัดท าเป้าหมายและตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน
ในระดับพื้นที่ เพื่อประโยชน์ในการจัดการทรัพยากรที่ดินที่มีความเสื่อมโทรม การป้องกัน และแก้ไขปัญหา
ความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดิน ด้วยการก าหนดมาตรการที่เหมาะสมกับพื้นที่ ประกอบด้วย
3.5.1 การสอบถามข้อมูลสภาพปัญหาความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดินในพื้นที่ (hot spot)
สาเหตุและปัจจัยที่ท าให้เกิดความเสื่อมโทรมของทรัพยากรที่ดินในพื้นที่ และการจัดการทรัพยากรที่ดิน
3.5.2 การสอบถามความคิดเห็นต่อมาตรการการจัดการทรัพยากรที่ดินที่เหมาะสมตามสภาพ
ภูมิสังคม ประกอบด้วย เกษตรกรผู้ใช้ประโยชน์ที่ดินในพื้นที่ไม่น้อยกว่า 100 ราย ต่อจังหวัด และหน่วยงาน
ในระดับพื้นที่ จากหน่วยงานกระทรวงเกษตรและสหกรณ์ กระทรวงทรัพยากรธรรมชาติและสิ่งแวดล้อม
หน่วยงานท้องถิ่นและหน่วยงานอื่นๆ ที่เกี่ยวข้อง
3.5.3 ก าหนดให้เกษตรกร ชุมชน หน่วยงานที่เกี่ยวข้องมีส่วนร่วมและมีบทบาทในการพัฒนา
แผนงานโครงการสนับสนุน เพื่อบริหารจัดการพื้นที่ในการป้องกันและลดความเสื่อมโทรมของที่ดิน