Page 31 - คู่มือการจัดทำเป้าหมายตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน (Land Degradation Neutrality: LDN) ระดับพื้นที่
P. 31
25
3.4 กำรก ำหนดมำตรกำรจัดกำรดินเสื่อมโทรมในระดับพื้นที่
การก าหนดมาตรการต่างๆ ในการป้องกันและฟื้นฟูพื้นที่เสื่อมโทรมของที่ดิน โดยใช้เกณฑ์ในการ
พิจารณาจากปัจจัย 3 องค์ประกอบ ดังนี้
1) สาเหตุ หรือปัจจัยตามตัวชี้วัดความสมดุลของการจัดการทรัพยากรที่ดิน
2) ความต้องการของชุมชน เกษตรกร หน่วยงานที่เกี่ยวข้อง และผู้มีส่วนได้ส่วนเสียในพื้นที่
โดยใช้การรับฟังข้อคิดเห็นผ่านการประชุมประชาพิจารณ์ หรือการสอบถามจากแบบสัมภาษณ์
3) รูปแบบมาตรการด้านการจัดการความเสื่อมโทรมของที่ดินตามมาตรฐานและหลักวิชาการ
โดยพิจารณาจากฐานข้อมูลการสนับสนุนการตัดสินใจเพื่อขับเคลื่อนและขยายผลมาตรการการจัดการที่ดินอย่าง
ยั่งยืน (Decision Support for Mainstreaming and Scaling up Sustainable Land Management: DSSLM)
กรมพัฒนาที่ดิน (2562) มาตรการอนุรักษ์ดินและน้ าทางวิธีกล กรมพัฒนาที่ดิน (2564) และมาตรการที่เกี่ยวข้อง
กับการจัดการความเสื่อมโทรมของที่ดิน
แนวทำงกำรก ำหนดเป้ำหมำยและมำตรกำรด ำเนินกำร พื้นที่เป้ำหมำยในกำรด ำเนินงำน
เป้ำหมำย มำตรกำร หน่วยงำน
เพิ่มสัดส่วนพื้นที่ป่าไม้ - ศึกษา วางแผนการใช้ประโยชน์ทรัพยากรที่ดินเพื่อ - กระทรวง
ของประเทศให้เพิ่มขึ้น การเกษตรให้สอดคล้องกับผังประเทศ และเป้าหมายเพื่อ ทรัพยากรธรรมชาติ
ด้วยการปลูกป่าและฟื้นฟู การพัฒนาตามยุทธศาสตร์ประเทศ และสิ่งแวดล้อม
สภาพ ป่าต้นน้ า - ส่งเสริมการปลูกป่า หรือไม้โตเร็วอย่างจริงจัง ตั้งแต่ระดับ - ส านักงานนโยบาย
เสื่อมสภาพบนพื้นที่ สูงชัน ครัวเรือนจนถึงชุมชน ภายใต้แนวคิดและกลไกที่เหมาะสม และแผน
รวมถึงป่าชายเลนและป่า เช่น ธนาคารต้นไม้ เพื่อเพิ่มความหลากหลายทางชีวภาพ ทรัพยากรธรรมชาติ
โกงกางโดยการมีส่วน - ส่งเสริม พัฒนา กฎกติกาของชุมชนในการอนุรักษ์ ฟื้นฟู และสิ่งแวดล้อม
ร่วมของชุมชน พื้นที่ป่าไม้ การปลูกป่าในรูปแบบวนเกษตร - กระทรวงเกษตรและ
การจัดการพื้นที่ป่าที่มีลักษณะเป็นกลุ่มป่าหรือผืนป่า โดยให้ สหกรณ์
ความส าคัญกับพื้นที่ต้นน้ าที่เป็นพื้นที่รอยต่อตามแนวเขต - กรมพัฒนาที่ดิน
อนุรักษ์กับพื้นที่เกษตร โดยกระบวนการ - กรมอุทยานแห่งชาติ
มีส่วนร่วมของทุกภาคส่วน สัตว์ป่าและพันธุ์พืช
- กรมป่าไม้
ปรับปรุงและฟื้นฟู - ส่งเสริมการเกษตรตามแนวทางเศรษฐกิจพอเพียง - กระทรวงเกษตรและ
ทรัพยากรดินที่ การจัดการที่ดินแบบยั่งยืน การปฏิบัติด้านเกษตรกรรมที่ดี สหกรณ์
เสื่อมโทรมให้กลับมามี การใช้ระบบเกษตรอินทรีย์ เกษตรผสมผสาน ระบบการ - กรมพัฒนาที่ดิน
ศักยภาพในการให้ผล เกษตรกรรมที่สามารถปรับตัวรองรับกับการเปลี่ยนแปลง - กรมส่งเสริม
ผลิตที่ดี โดยเน้น สภาพภูมิอากาศ ร่วมกับภูมิปัญญาท้องถิ่น ในระดับชุมชน การเกษตร
การเกษตรแบบยั่งยืน - สนับสนุน ส่งเสริมให้เกิดกระบวนการเรียนรู้ และจัดการ - กรมวิชาการเกษตร
ทรัพยากรที่ดินให้เกิดความสมดุลของการจัดการทรัพยากร - กรมชลประทาน
ที่ดิน - กรมทรัพยากรน้ า
- ก าหนดกลยุทธ์และแผนปฏิบัติการส าหรับการฟื้นฟูที่ดิน - กรมทรัพยากรน้ า
เสื่อมโทรม บาดาล
- เพิ่มประสิทธิภาพการบริหารจัดการน้ าเพื่อการจัดการพื้นที่เกษตร - กรมฝนหลวงและการ
บินเกษตร