Page 21 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดภูเก็ต
P. 21
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
14
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
306 - - 93,547 93,853
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%)
เมือง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - - - 3 3
ภูเก็ต เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.003%) (0.003%)
306 - - - 306
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(100.00%) (0.33%)
4,625 4,331 1,043 241,649 251,648
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 91 - 44 3 138
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (1.97%) (4.22%) (0.001%) (0.05%)
4,534 4,331 - - 8,865
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(98.03%) (100.00%) (3.52%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูล พบว่าพื้นที่ที่ควรส่งเสริมให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าว คือ บริเวณ
ที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 275 ไร่ และพื้นที่ปลูกมะพร้าว (N) 245 ไร่ แต่เนื่องจากนโยบายของ
คณะกรรมการนโยบายบริหารจัดการข้าวต้องการรักษาดุลยภาพผลผลิตข้าว ดังนั้น จึงควรพิจารณา
ปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคล้องกับความต้องการของตลาด (ตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตข้าว
ยางพารา (ไร่) มะพร้าว (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
กะทู้ - - - - 58 58
ถลาง 274 - 274 - 177 177
เมืองภูเก็ต 1 - 1 - 10 10
รวม 275 - 275 - 245 245
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกข้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มี
คุณภาพดี ซึ่งการปลูกข้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถนำไปสู่การต่อยอดโครงการที่สำคัญต่าง ๆ ได้
เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นยำ เป็นต้น