Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดภูเก็ต
P. 16
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
9
ตารางที่ 5 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
- 9,626 3,620 81,605 94,850
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 624 43 1,013 1,680
เมืองภูเก็ต
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (6.48%) (1.19%) (1.24%) (1.77%)
- 9,002 - - 9,002
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(93.52%) (9.49%)
- 77,509 9,439 171,669 258,617
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ - 4,003 70 1,602 5,675
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (5.16%) (0.74%) (0.93%) (2.19%)
- 73,506 - - 73,506
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(94.84%) (28.42%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูก
พืชตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมะพร้าว คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปาล์มน้ำมัน (S3) 39 ไร่ (ตารางที่ 6)
ตารางที่ 6 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมะพร้าว
ปาล์มน้ำมัน (ไร่)
อำเภอ
S3 N รวม
กะทู้ 39 - 39
รวม 39 - 39
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกรปลูก
มะพร้าวต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ดี ซึ่งการปลูกมะพร้าวในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถนำไปสู่การต่อยอดโครงการที่สำคัญต่างๆ ได้
เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นยำ เป็นต้น
พื้นที่ปลูกมะพร้าวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือ พื้นที่ปลูก
มะพร้าวในที่ดินที่มีข้อจำกัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกมะพร้าว เช่น ความอุดมสมบูรณ์
ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง ความชื้น กระจายตัวอยู่ในอำเภอถลาง 66,117 ไร่ อำเภอเมืองภูเก็ต
9,626 ไร่ และอำเภอกะทู้ 1,766 ไร่