Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดระยอง
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
27,873 226,494 9,184 126,418 389,969
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 157 1,592 202 108 2,059
เมืองระยอง
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.56%) (0.70%) (2.20%) (0.09%) (0.53%)
27,716 224,902 252,618
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.44%) (99.30%) (64.78%)
36,215 114,211 3,816 56,703 210,945
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 348 1,451 1,853
วังจันทร์ - -)
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.96%) (1.27%) (0.88%)
35,867 112,760 3,816 56,649 148,627
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ
(99.04%) (98.73%) (100.00%) (99.90%) (70.46%)
114,132 1,234,048 23,477 550,343 1,922,000
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 931 43,033 307 1,554 45,825
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.82%) (3.49%) (1.31%) (0.28%) (2.38%)
113,201 1,191,015 1,304,216
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.18%) (96.51%) (67.86%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่าพื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกสับปะรดโรงงาน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกปาล์มน้ำมัน (S3+N)
22,197 ไร่ และพื้นที่ปลูกทุเรียน (S3+N) 4,303 ไร่ (ตารางที่ 10)