Page 23 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดระยอง
P. 23
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
16
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
78,672 14,805 335 296,157 389,969
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 980 10 183 1,173
เมืองระยอง -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (1.25%) (0.07%) (0.06%) (0.30%)
77,692 14,795 92,487
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(98.75%) (99.93%) (23.72%)
104,355 32,347 94 74,149 210,945
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 4,749 1,247 - 819 6,815
วังจันทร์
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (4.55%) (3.86%) (1.10%) (3.23%)
99,606 31,100 130,706
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(95.45%) (96.14%) (61.96%)
402,648 164,327 7,184 1,347,842 1,922,001
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 34,695 12,193 314 9,272 56,474
รวมทั้งจังหวัด
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (8.62%) (7.42%) (4.37%) (0.69%) (2.94%)
367,953 152,134 520,087
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(91.38%) (92.58%) (27.06%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลศักยภาพพื้นที่ร่วมกับพื้นที่ปลูกพืชในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควรพิจารณา
ให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกทุเรียน คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกยางพารา (S3) 9,460 ไร่ และพื้นที่ปลูก
ปาล์มน้ำมัน (S3+N) 8,261 ไร่ (ตารางที่ 8 )