Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตทุเรียน
มันส าปะหลัง (ไร่) ปาล์มน้ ามัน (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
ขลุง - - - - - -
มะขาม 181 - 181 1 - 1
สอยดาว - - - 27,212 - 27,212
ท่าใหม่ 6,938 - 6,938 1,991 - 1,991
นายายอาม 10,731 - 10,731 2,427 - 2,427
แหลมสิงห์ - - - - - -
เขาคิชฌกูฏ 5,762 - 5,762 1,480 - 1,480
แก่งหางแมว 4,095 - 4,095 1,417 - 1,417
โป่งน้ าร้อน 13,412 - 13,412 15,338 - 15,338
เมืองจันทบุรี - - - 18 - 18
รวม 41,119 - 41,119 49,884 - 49,884
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้
เกษตรกรปลูกทุเรียนต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้
ผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกทุเรียนในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่
ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกทุเรียนในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ที่ไม่มีข้อจ ากัด
ทางกายภาพต่อการปลูกทุเรียน ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกทุเรียนที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจาย
อยู่ในอ าเภอท่าใหม่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ และอ าเภอนายายอาม เป็นต้น
พื้นที่ปลูกทุเรียนในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกทุเรียน
ในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการ เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง
และแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอนายายอาม อ าเภอท่าใหม่ อ าเภอโป่งน้ าร้อน เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกทุเรียน มีต้นทุน
ที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย