Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตล าไย
มันส าปะหลัง (ไร่) ปาล์มน้ ามัน (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
ขลุง - - - - - -
มะขาม - - - - - -
สอยดาว 11,016 6 11,022 5,673 - 5,673
ท่าใหม่ - - - - - -
นายายอาม - - - - - -
แหลมสิงห์ - - - - - -
เขาคิชฌกูฏ - - - - - -
แก่งหางแมว 430 - 430 63 - 63
โป่งน้ าร้อน 5,458 69 5,527 - - -
เมืองจันทบุรี - - - - - -
รวม 16,904 75 16,979 5,736 - 5,736
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกล าไยต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิตที่มีคุณภาพ
ดี ซึ่งการปลูกล าไยในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการที่ส าคัญต่าง ๆ ได้
เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกล าไยในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัด
ทางกายภาพต่อการปลูกล าไย ซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกล าไยของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอ
สอยดาว อ าเภอโป่งน้ าร้อน และอ าเภอนายายอาม เป็นต้น
พื้นที่ปลูกล าไยในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ที่มีข้อจ ากัด
ทางกายภาพบางประการต่อการปลูกล าไย เช่น ความอุดมสมบูรณ์ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่าง
ความชื้น โดยกระจายอยู่ในอ าเภอสอยดาว อ าเภอโป่งน้ าร้อน และอ าเภอแก่งหางแมว เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุน
ให้เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกล าไย
มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย