Page 37 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               30








                         4.3  ล าไย

                             1) พื้นที่ปลูกล าไยที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกล าไยอยู่ มีเนื้อที่ 17,965 ไร่
                       มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอสอยดาว อ าเภอโป่งน้ าร้อน และอ าเภอนายายอาม ตามล าดับ

                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดควรให้มีการเสนอแผนการใช้ที่ดินเพื่อสงวนให้เป็นพื้นที่ปลูกล าไย
                       ที่ส าคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ าอย่างดี รวมทั้งการจัดการดินและปุ๋ยตามมาตรฐาน
                       ส่งเสริมให้มีการใช้ปุ๋ยให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่ สนับสนุนการรวมกลุ่มตามระบบส่งเสริมการเกษตร

                       แบบแปลงใหญ่ สร้างเครือข่ายในรูปแบบของสหกรณ์ กลุ่มเกษตรกร หรือวิสาหกิจชุมชน กับโรงงาน
                       แปรรูปล าไย หรือพ่อค้าที่รับซื้อล าไยเพื่อการส่งออก ปรับเปลี่ยนวิถีการผลิตสู่การผลิตผลไม้ครบวงจร

                       เช่น บริหารจัดการผลผลิตแบบป้องกันความเสี่ยงโดยใช้การตลาดน าการผลิตเพิ่มประสิทธิภาพการผลิต
                       และพัฒนาให้เกษตรกรเพาะปลูกตามการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (GAP)

                             2) พื้นที่ปลูกล าไยที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกล าไยอยู่ มีเนื้อที่
                       294,900 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตโป่งน้ าร้อน อ าเภอสอยดาว และอ าเภอท่าใหม่ เกษตรกรยังคงปลูกล าไย

                       ได้ผลดี เนื่องจากเป็นไม้ผล ซึ่งบางช่วงมีความต้องการการใช้น้ าในปริมาณที่มาก ควรสนับสนุน
                       ด้านการบริหารจัดการน้ า เช่น ชลประทาน แหล่งน้ าในไร่นานอกเขตชลประทาน ใช้ปัจจัยการผลิต
                       ในอัตราและช่วงเวลาที่เหมาะสม จะสร้างความมั่นใจให้กับเกษตรกรผู้ปลูกล าไย ภาครัฐควรให้ความรู้

                       ความเข้าใจกับเกษตรกร หรือถ้าต้องการเปลี่ยนชนิดพืชควรเป็นพืชที่มีผลตอบแทนดีกว่าและใช้ต้นทุน
                       ต่ ากว่า

                             3) พื้นที่ปลูกล าไยในพื้นที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้

                       ที่ดินปลูกล าไยอยู่ ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม
                       โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน ปรับปรุงบ ารุงดิน สนับสนุนแหล่งน้ า ประชาสัมพันธ์ ให้ความรู้แนว

                       ทางการบริหารจัดการให้แก่เกษตรกร ในกรณีที่ล าไยถึงอายุต้องโค่นทิ้ง ทั้งนี้เกษตรกรสามารถเลือกปลูก
                       พืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสมและให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน

                       หรือเข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกล าไย แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้

                       ใช้พื้นที่ปลูกล าไย แต่มีการปลูกพืชชนิดอื่น เช่น พืชไร่ หรือไม้ผลหรือไม้ยืนต้น ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเป็น
                       พืชไร่ ในอนาคตสามารถกลับมาปลูกล าไยได้อีก แต่หากเป็นไม้ผลหรือไม้ยืนต้น อาจเป็นเรื่องยาก

                       โดยเฉพาะการปลูกไม้ผล เช่น ทุเรียน ที่ปัจจุบันราคาดี แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาต้นทุนการผลิตร่วมด้วย
                       ภาครัฐควรประชาสัมพันธ์และสร้างมาตรการจูงใจให้เกษตรกรกลับมาปลูกล าไยในพื้นที่นี้ แต่ทั้งนี้
                       ต้องพิจารณาลักษณะทางการตลาดร่วมด้วย
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42