Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดจันทบุรี
P. 28

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               21








                         2.4   ทุเรียน
                               ทุเรียนเป็นพืชเศรษฐกิจหลักของจังหวัดจันทบุรีในล าดับที่ 4 จากฐานข้อมูลในแผนที่เกษตร
                       เชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห์ข้อมูลได้ดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                             1) การวิเคราะห์ศักยภาพของพื้นที่ปลูกทุเรียน

                               ระดับที่ 1 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 431,053 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 19.26
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 153,988 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 139,565 ไร่
                       และอ าเภอโป่งน้ าร้อน 41,474 ไร่
                               ระดับที่ 2 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 701,732  ไร่ คิดเป็นร้อยละ

                       31.35 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอโป่งน้ าร้อน 258,616 ไร่ อ าเภอสอยดาว 188,895 ไร่
                       และอ าเภอนายายอาม 89,577ไร่
                               ระดับที่ 3 เป็นพื้นที่ความเหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 531,322 ไร่ คิดเป็นร้อยละ
                       23.74 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากในอ าเภอขลุง 166,751 ไร่ อ าเภอมะขาม 138,241 ไร่ และ

                       อ าเภอสอยดาว 82,984 ไร่
                               ระดับที่ 4 เป็นพื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 574,075 ไร่

                             2) การวิเคราะห์พื้นที่ปลูกทุเรียนในปัจจุบัน ซึ่งจ าแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน ได้ดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 73,164 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 16.97 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 36,154 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 24,177 ไร่ และอ าเภอนายายอาม 4,488 ไร่

                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 35,273 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 5.03 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากในอ าเภอนายายอาม 12,153 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 8,970 ไร่ และอ าเภอ
                       โป่งน้ าร้อน 6,474 ไร่
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กน้อย (S3) มีเนื้อที่ 75,970 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 14.30 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กน้อย พบมากในอ าเภอสีอ าเภอขลุง 31,460 ไร่ อ าเภอมะขาม 26,563 ไร่ และอ าเภอ
                       เมืองจันทบุรี 6,545 ไร่
                               (4) พื้นที่ไม่เหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 15,681 ไร่

                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกทุเรียนแต่ไม่ใช้พื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินส าหรับการปลูกทุเรียน และพื้นที่ปลูกทุเรียนในชั้นความ

                       เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) พบว่าจังหวัดจันทบุรีมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง
                       (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 1,024,348 ไร่ กระจายอยู่ทั่วทุกอ าเภอ
                       โดยอ าเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุดคือ อ าเภอโป่งน้ าร้อน 290,706 ไร่ รองลงมา

                       ได้แก่ อ าเภอสอยดาว 219,662 ไร่ อ าเภอท่าใหม่ 198,270 ไร่ อ าเภอเขาคิชฌกูฏ 134,750 ไร่ อ าเภอ
                       นายายอาม 109,773 ไร่ ตามล าดับ โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 357,889 ไร่ คิดเป็นร้อยละ 83.03 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอ าเภอท่าใหม่ 117,834 ไร่ และอ าเภอเขาคิชฌกูฏ 115,388 ไร่
   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33