Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุพรรณบุรี
P. 32
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
25
ตารางที่ 9 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
2,935 75,722 188,947 267,604
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
หนอง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 77 255 332
หญ้าไซ เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - (0.10%) - (0.13%) (0.12%)
2,935 75,645 78,580
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (99.90%) (29.36%)
17,825 9 179,516 197,350
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 23 23
ดอนเจดีย์ - - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.01%) (0.01%)
17,825 17,825
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(100.00%) (9.03%)
48,945 769,528 64,291 1,849,531 2,732,295
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 26 19,569 3,940 1,111 24,646
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.05%) (2.54%) (6.13%) (0.06%) (0.90%)
48,919 749,959 798,878
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.95%) (97.46%) (29.24%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ศักยภาพร่วมกับพื้นที่ปลูกจริงในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (S3)
244,642 ไร่ และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 63,668 ไร่ (ตารางที่ 10)