Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสุพรรณบุรี
P. 27
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
20
ตารางที่ 7 (ต่อ)
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร่)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
153 78,476 830 189,161 268,620
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
หนอง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 153 802 955
หญ้าไซ เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) - (0.19%) (96.63%) - (0.36%)
153 78,323 78,476
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(100.00%) (99.81%) (29.21%)
17,833 1,566 181,735 201,134
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 739 1,566 2,305
ดอนเจดีย์ - -
เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (4.14%) (100.00%) (1.15%)
17,094 17,094
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(95.86%) (8.50%)
251,163 508,445 126,464 2,037,212 2,923,284
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 1,736 15,111 12,395 1,311 30,553
จังหวัด เหมาะสมต่าง ๆ (ปลูกจริง) (0.69%) (2.97%) (9.80%) (0.06%) (1.05%)
249,427 493,334 742,761
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(99.31%) (97.03%) (25.41%)
ทั้งนี้ ในการส่งเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เท่านั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได้ จึงควรส่งเสริมในพื้นที่ดังกล่าว
เมื่อวิเคราะห์ข้อมูลพื้นที่ศักยภาพร่วมกับพื้นที่ปลูกจริงในปัจจุบัน พบว่า พื้นที่ที่ควร
พิจารณาให้มีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง คือ บริเวณที่เป็นพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน (S3)
199,625 ไร่ และพื้นที่ปลูกข้าว (S3+N) 64,663 ไร่ (ตารางที่ 8)