Page 13 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 13

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                6







                         2.1  ขาว
                                ขาวเปนพืชเศรษฐกิจหลักลำดับที่ 1 ของจังหวัดหนองคาย เนื่องจากมีตลาดขาวขนาดใหญรองรับ
                       ประกอบกับเกษตรกรมีความถนัดในการผลิตมาตั้งแตอดีต จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ
                       Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 3 และภาพที่ 6 ถึง 7)

                               1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาว

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 200,207 ไร คิดเปนรอยละ 10.84
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอเมืองหนองคาย 64,238 ไร อำเภอทาบอ 51,012 ไร และ
                       อำเภอศรีเชียงใหม 25,284 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) 789,228 ไร คิดเปนรอยละ

                       42.77 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย 312,123 ไร อำเภอเมืองหนองคาย
                       141,422 ไร และอำเภอเฝาไร 100,469 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 80,642 ไร คิดเปนรอยละ

                       4.36  ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอสระใคร 20,395 ไร อำเภอสังคม 18,341 ไร และ
                       อำเภอโพนพิสัย 12,702 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 776,144 ไร

                               2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 126,264 ไร คิดเปนรอยละ 63.07 ของพื้นที่
                       เหมาะสมสูง พบมากอยูในอำเภอเมืองหนองคาย 39,778 ไร อำเภอทาบอ 29,833 ไร และ
                       อำเภอศรีเชียงใหม 18,774 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 402,421 ไร คิดเปนรอยละ 50.99 ของ
                       พื้นที่เหมาะสมปานกลาง พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย 167,792 ไร อำเภอเมืองหนองคาย 61,777 ไร

                       อำเภอเฝาไร 51,084 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 53,400 ไร คิดเปนรอยละ 66.22 ของพื้นที่
                       เหมาะสมเล็กนอย พบมากอยูในอำเภอสระใคร 10,500 ไร อำเภอโพนพิสัย 10,080 ไร อำเภอสังคม

                       9,630 ไร
                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) ในการปลูกขาว มีเนื้อที่ 71,904 ไร

                               3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวแตยังไมใชพื้นที่ปลูก
                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกขาว และพื้นที่ปลูกขาวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ
                       (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดหนองคายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความ

                       เหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 460,750 ไร โดยกระจายอยูทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอโพนพิสัย 150,585 ไร รองลงมาไดแก อำเภอเมืองหนองคาย
                       104,105 ไร อำเภอทาบอ 54,908 ไร และอำเภอเฝาไร 53,903 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
   8   9   10   11   12   13   14   15   16   17   18