Page 11 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 11
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
4
1.5 สภาพการใชที่ดิน
สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดหนองคาย จากฐานขอมูลแผนที่สภาพการใชที่ดินของ
กรมพัฒนาที่ดิน (ตารางที่ 1)
ตารางที่ 1 สภาพการใชที่ดินปจจุบันของจังหวัดหนองคาย
เนื้อที่
ประเภทการใชที่ดิน
ไร รอยละ
พื้นที่ชุมชนและสิ่งปลูกสราง 132,081 6.99
พื้นที่เกษตรกรรม 1,357,991 71.77
พื้นที่นา 653,345 34.54
พืชไร 141,078 7.45
ไมยืนตน 506,601 26.78
ไมผล 23,072 1.20
พืชสวน 1,310 0.07
ทุงหญาเลี้ยงสัตวและโรงเรือนเลี้ยงสัตว 4,438 0.24
พืชน้ำ (บัว) 38 0.00
สถานที่เพาะเลี้ยงสัตวน้ำ 28,109 1.49
พื้นที่ปาไม 167,595 8.86
พื้นที่น้ำ 124,470 6.60
พื้นที่เบ็ดเตล็ด 109,447 5.78
รวม 1,891,584 100.00
ที่มา: กรมพัฒนาที่ดิน (2562)
1.6 พื้นที่ชลประทาน
จังหวัดหนองคายมีเนื้อที่ชลประทาน 69,797.66 ไร (รอยละ 3.69 ของพื้นที่จังหวัด)
กระจายอยูใน 8 อำเภอ มีอางเก็บน้ำที่สำคัญ 4 อาง มีศักยภาพในการเก็บกักน้ำไดรวม 23.17
ลานลูกบาศกเมตร พื้นที่ชลประทานมีความสำคัญในการพิจารณาเพิ่มศักยภาพการผลิตที่เหมาะสม
(ตารางผนวกที่ 2 และตารางผนวกที่ 3)
1.7 เขตปฏิรูปที่ดิน
เขตปฏิรูปที่ดินในพื้นที่จังหวัดหนองคาย มีเนื้อที่ 590,344 ไร (รอยละ 31.21 ของพื้นที่จังหวัด)
โดยอำเภอที่มีพื้นที่เขตปฏิรูปที่ดินมากที่สุด ไดแก อำเภอเฝาไร อำเภอโพนพิสัย และอำเภอสังคม
ตามลำดับ (ตารางผนวกที่ 4)
1.8 การขึ้นทะเบียนเกษตรกร
จากฐานขอมูลทะเบียนเกษตรกรของกรมสงเสริมการเกษตร จังหวัดหนองคาย มีการขึ้นทะเบียน
เกษตรกรผูปลูกพืชหรือเลี้ยงสัตวทั้งหมดในป 2563 จำนวน 97,571 ราย รวมพื้นที่ 1,050,372 ไร