Page 18 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 18

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               11







                         2.2  ยางพารา
                             ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจหลักของหนองคายในลำดับที่ 2 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online สามารถวิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 5 และภาพที่ 8 ถึง 9)

                             1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา
                               ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 113,368 ไร คิดเปนรอยละ 6.13

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอเมืองหนองคาย 29,061 ไร อำเภอศรีเชียงใหม
                       22,953 ไร และอำเภอสังคม 21,559 ไร
                               ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 430,053 ไร คิดเปนรอยละ
                       23.26 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย 94,911 ไร อำเภอเฝาไร 81,630 ไร

                       อำเภอรัตนวาป 71,916 ไร
                               ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 319,948 ไร คิดเปนรอยละ
                       17.31 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย 91,507 ไร อำเภอเมืองหนองคาย

                       60,893 ไร อำเภอทาบอ 51,022 ไร
                             ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 984,849 ไร

                             2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 21,666  ไร คิดเปนรอยละ 19.11 ของพื้นที่ศักยภาพสูง

                       พบมากอยูในอำเภอสังคม (9,288 ไร) อำเภอโพธิ์ตาก 7,003 ไร และอำเภอศรีเชียงใหม 4,277 ไร
                               (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 217,289 ไร คิดเปนรอยละ 50.53 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง พบมากอยูในอำเภอเฝาไร 62,452 ไร อำเภอโพนพิสัย 51,595 ไร และ
                       อำเภอรัตนวาป (47,710 ไร) เปนตน
                               (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 96,199 ไร คิดเปนรอยละ 30.07 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย พบมากอยูในอำเภอโพนพิสัย (38,204 ไร) อำเภอเฝาไร (24,167 ไร) อำเภอรัตนวาป
                       (21,924 ไร)
                               (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 7,061  ไร

                             3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพาราแตไมใชพื้นที่ปลูก

                       พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวา จังหวัดหนองคายมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 304,468 ไร โดยกระจายอยู
                       ทั่วทุกอำเภอ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอโพนพิสัย 53,180 ไร

                       รองลงมา ไดแก อำเภอสระใคร 43,099 ไร อำเภอศรีเชียงใหม 39,423 ไร และอำเภอสังคม 39,185 ไร
                       โดยมีรายละเอียดดังนี้
                               (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 91,703 ไร คิดเปนรอยละ 80.89 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอเมืองหนองคาย 28,714 ไร อำเภอศรีเชียงใหม 18,676 ไร และ

                       อำเภอทาบอ 15,009 ไร
   13   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23