Page 16 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 16

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                9







                       ตารางที่ 3 (ตอ)

                                                                     เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                         อำเภอ        ประเภทพื้นที่
                                                          S1        S2         S3         N        รวม

                                                           3,992     6,111     18,341    79,937    108,381
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                                 พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   2,225   2,531      9,630       611     14,997
                          สังคม
                                 เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (55.74%)  (41.42%)  (52.51%)   (0.76%)  (13.84%)

                                                           1,767     3,580                           5,347
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (44.26%)  (58.58%)                         (4.93%)
                                                         200,207   789,228    80,642    776,144  1,846,221
                                 พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                      (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                         รวมทั้ง พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   126,264   402,421   53,400   71,904   653,989
                         จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (63.07%)  (50.99%)  (66.22%)   (9.26%)  (35.42%)

                                                          73,943   386,807                        460,750
                                 พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ                            -         -
                                                        (36.93%)  (49.01%)                       (24.96%)

                               ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
                       ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
                       ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                  เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวา พื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกขาว คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกยางพารา (S3+N) 90,282 ไร

                       พื้นที่ปลูกปาลมน้ำมัน (S3+N) 7,287 ไร แตเนื่องจากนโยบายของคณะกรรมการนโยบายบริหาร
                       จัดการขาวตองการรักษาดุลยภาพผลผลิตขาว ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่
                       สอดคลองกับความตองการของตลาด (ตารางที่ 4)
   11   12   13   14   15   16   17   18   19   20   21