Page 17 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 17
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
10
ตารางที่ 4 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตขาว
ยางพารา (ไร) ปาลมน้ำมัน (ไร)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
ทาบอ 1,443 - 1,443 2 1,062 1,064
เฝาไร 24,245 - 24,245 398 431 829
โพธิ์ตาก 220 - 220 - 409 409
โพนพิสัย 38,288 404 38,692 937 2,429 3,366
เมืองหนองคาย 1,524 - 1,524 89 337 426
รัตนวาป 21,995 - 21,995 278 203 481
ศรีเชียงใหม 489 - 489 58 423 481
สระใคร 1,060 - 1,060 - 2 2
สังคม 614 - 614 - 229 229
รวม 89,878 404 90,282 1,762 5,525 7,287
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
ปลูกขาวตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี
ซึ่งการปลูกขาวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอดโครงการที่สำคัญตาง ๆ ได เชน
เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน
พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่ไมมี
ขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกขาว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกขาวที่สำคัญของจังหวัด
โดยกระจายอยูในอำเภอเมืองหนองคาย อำเภอทาบอ อำเภอศรีเชียงใหม เปนตน
พื้นที่ปลูกขาวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูกขาวในที่ดินที่มี
ขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาว เชน ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง
และแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอโพนพิสัย อำเภอเมืองหนองคาย อำเภอเฝาไร เปนตน
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน ทำการเกษตรผสมผสานหรือพืชที่ใหผลตอบแทนสูงกวา
โดยพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย