Page 9 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดหนองคาย
P. 9

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                                2







                         1.4  ทรัพยากรดิน
                             ทรัพยากรดินของจังหวัดหนองคาย แบงตามภูมิสัณฐาน ลักษณะทางธรณีวิทยา และวัตถุ
                       ตนกำเนิดดิน ไดดังนี้

                             1) ที่ราบน้ำทวมถึง (Flood plain) ที่ราบริมแมน้ำหรือลำธาร หนาฝนหรือหนาน้ำ มักมี
                       น้ำทวมเปนครั้งคราว เปนสภาพพื้นที่ที่เกิดจาการทับถมของตะกอนน้ำพา และมีตะกอนเพิ่มมากขึ้น

                       หลังน้ำทวม แบงเปน
                               (1)  สันดินริมน้ำ (Levee) เปนที่ดอน เกิดจากการทับถมของตะกอนน้ำพาบริเวณ
                       ริมฝงแมน้ำ เปนสันนูนขนานไปกับริมฝงแมน้ำ การระบายน้ำคอนขางดีถึงดี เนื้อดินคอนขางหยาบ
                       เชน ชุดดินชุมพลบุรี (Chp) ชุดดินธาตุพนม (Tp)

                               (2)  ที่ลุมหลังสันดินริมน้ำ (Back swamp, basin) เปนที่ลุมน้ำขังอยูระหวางสันดิน
                       ริมน้ำกับตะพักลำน้ำหรือดานขางหุบเขา การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว ดินลึกมาก เนื้อดินเหนียว
                       ละเอียด สีเทาและน้ำตาลปนเทา เชน ชุดดินกันทรลักษณวิชัย (Ka)

                             2) ที่ราบตะกอนน้ำพา (Alluvial plain) เปนบริเวณที่ไดรับอิทธิพลของแมน้ำหรือลำน้ำสาขา
                       วัตถุตนกำเนิดดินเปนตะกอนน้ำพา (Alluvium) มีสภาพพื้นที่เปนที่ราบขนาดใหญสองฝงแมน้ำ แตละฝง

                       อาจมีที่ราบแบบขั้นบันไดหรือตะพักไดหลายระดับ แบงเปน
                               (1) ตะพักลำน้ำระดับต่ำ (Low terrace) เปนที่ลุม มีสภาพพื้นที่ราบเรียบ ดินลึกมาก
                       เนื้อดินอาจเปนดินเหนียวละเอียดถึงดินทรายแปงละเอียด สีเทา น้ำตาลปนเทา และน้ำตาล มีจุดประ

                       สีตาง ๆ การระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว เชน ชุดดินโพทะเล (Cpa) ชุดดินนาออ (Nao) ชุดดิน
                       หนองบุญนาก (Nbn) ชุดดินหนองกุง (Nkg) ชุดดินนครพนม (Nn) ชุดดินศรีขรภูมิ (Sik) ตะกอนน้ำพา
                       เชิงซอน (AC) และชุดดินธวัชบุรี (Th)
                               (2) ตะพักลำน้ำระดับกลางและระดับสูง (Middle and High terrace) เปนที่ดอน
                       มีสภาพพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาด ดินตื้นถึงชั้นกรวดลูกรังถึงดินลึกมาก เนื้อดินเปน

                       ดินรวนหยาบ ดินรวนละเอียดหรือดินรวนปนชิ้นสวนหยาบมาก สีน้ำตาล เหลือง น้ำตาลปนแดงไป
                       จนถึงแดง การระบายน้ำดีปานกลางถึงดี เชน ชุดดินชุมพวง (Cpg) ชุดดินจักราช (Ckr)

                             3) พื้นเกือบราบ (Peneplain) เปนภูมิลักษณของพื้นผิวดินภายหลังการกรอน เกิดจาก
                       การผุพังดวยกระบวนการกรอนทำลายโดยน้ำ ทำใหพื้นที่สูงเดิมซึ่งขรุขระและสูงต่ำแตกตางกันมาก

                       มีระดับต่ำลงจนมีลักษณะคลายลูกคลื่นลอนลาดหรือพื้นที่เกือบราบ วัตถุตนกำเนิดดินเกิดจากการผุพัง
                       สลายตัวอยูกับที่หรือเคลื่อนยายมาในระยะทางไมไกล ดินจึงมีลักษณะเดนตามวัตถุตนกำเนิดหรือหิน
                       ที่รองรับอยูดานลางและระดับการพัฒนาตัวของดิน แบงเปน
                               (1)  พื้นที่แบบราบเรียบถึงลูกคลื่นลอนลาดเล็กนอย ดินมีการระบายน้ำคอนขางเลวถึงเลว

                       ในบริเวณที่ราบลุมหรือที่ราบ หรือตามรองระหวางที่ดอนหรือเนิน เนื้อดินสวนใหญมีทรายปน ดินมีสีเทา
                       หรือน้ำตาลปนเทา และพบจุดสีตางๆ ถัดขึ้นมาบริเวณพื้นที่คอนขางราบเรียบถึงเปนลูกคลื่นลอนลาด
                       เล็กนอย ดินมีสีน้ำตาล น้ำตาลปนเหลือง เหลือง และมีจุดประสีเทาคอนขางชัดเจน โดยเฉพาะ
                       ในชวงตอนบนอันเนื่องมาจากการขังน้ำ นอกจากนี้จะพบจุดประสีเหลือง น้ำตาล หรือแดงในหนาตัดดิน

                       การระบายน้ำคอนขางเลวถึงดีปานกลาง การทำคันนาเพื่อใชปลูกขาวมีลักษณะคอนขางกวางและสูง
   4   5   6   7   8   9   10   11   12   13   14