Page 41 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 41

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               36








                       ปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคใน
                       ครัวเรือน หรือเข้าโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)

                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกข้าว แต่ปัจจุบันเกษตรกรไม่ได้
                       ใช้พื้นที่ปลูกข้าว โดยหันมาปลูกมันส าปะหลัง ยางพารา อ้อยโรงงาน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเป็นพืชไร่

                       หากในอนาคตข้าวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกข้าวได้เหมือนเดิม แต่หากเป็นไม้ผลหรือไม้ยืนต้น

                       การกลับมาปลูกข้าวอาจเป็นเรื่องยาก ดังนั้นอาจส่งเสริมในเรื่องของการท าเกษตรรูปแบบอื่น
                       เช่น ท าการเกษตรแบบผสมผสาน ทดแทน


                         4.2  ยางพารา
                             1) พื นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกยางพาราอยู่ มีเนื้อที่

                       25,491 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตในอ าเภอบ้านม่วง อ าเภอวาริชภูมิ และอ าเภอกุดบาก ตามล าดับ
                       ซึ่งมาตรการยุทธศาสตร์ยางพาราระยะ 20ปี ( พ.ศ. 2560- 2579) เน้นให้มีการเพิ่มผลผลิตยางพารา

                       ต่อไร่ต่อปี จากปกติเฉลี่ยอยู่ที่ 224 กิโลกรัมต่อไร่ เป็น 360 กิโลกรัมต่อไร่ ภายในปี 2579 นั้น ควรมี

                       การจัดการที่เหมาะสมในเรื่องต่าง ๆ ดังนี้
                                 -  การคัดเลือกพันธุ์ให้เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และต้านทานโรค

                                 - การปรับปรุงบ ารุงดิน การใส่ปุ๋ยที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

                                 - การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินให้เหมาะสมเพราะมีผลต่อการเจริญเติบโตของยาง
                                 - การบ ารุงรักษา การใส่ปุ๋ยการตัดแต่งกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางให้มีปริมาณ

                       น้ ายางสูงมีคุณภาพและตรงตามมาตรฐาน
                                 - เน้นการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เช่น จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ใน

                       พื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง

                                 - ส่งเสริมให้เกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเข้มแข็ง มีการบริหารงานแบบ
                       มืออาชีพและสามารถถ่ายทอดกิจการให้กับคนรุ่นใหม่

                             2) พื นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกยางพารา
                       อยู่ มีเนื้อที่ 869,446 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอบ้านม่วง อ าเภอสว่างแดนดิน และอ าเภอวาริช

                       ภูมิ ควรสนับสนุนให้มีเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเน้นการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องต่าง ๆ เช่นเดียวกัน

                       กับพื้นที่เหมาะสมสูง โดยเฉพาะการปรับปรุงบ ารุงดิน ดังนี้
                                 - เน้นการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เช่น จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑ์ใน

                       พื้นที่ ที่มีความเหมาะสมปานกลาง ให้มากขึ้น

                                 - ส่งเสริมให้มีการโค่นยางพาราที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปี และปลูกยางพาราทดแทนใน
                       พื้นที่เดิมเช่นกันกับพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง
   36   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46