Page 39 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 39

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               34








                       มีสรรพคุณเป็นสมุนไพรด้านการบ ารุงสุขภาพร่างกาย มีปริมาณสารอาหาร วิตามิน กรดอินทรีย์ และ
                       กรดอะมิโนที่จ าเป็นหลายชนิด และเมื่อน าผลมะเม่าสุกมาท าการวิเคราะห์ปริมาณสารต้านอนุมูล

                       อิสระจ าพวกสารแอนโทไซยานินและสารกลุ่มโพลีฟีนอล ด้านการค้ามีตลาดผู้บริโภคภายในประเทศ

                       ซึ่งมีแผนจะขยายตลาดไปยังประเทศพม่าและเวียดนาม

                         3.5 ไม้ดอกไม้ประดับ (กุหลาบ) จังหวัดสกลนคร มีลักษณะภูมิอากาศและสภาพดินเหมาะแก่
                       การปลูกไม้ดอกไม้ประดับ เพื่อเป็นทางเลือกด้านรายได้เสริม โดยบ้านสะพานสาม ต าบลสร้างค้อ

                       อ าเภอภูพาน เป็นพื้นที่สวนปลูกกุหลาบขายส่งตลาดแหล่งส าคัญของจังหวัด โดยทั่วไปเกษตรกรจะท า

                       การการตัดดอกกุหลาบขาย 2 รูปแบบ คือ การตัดดอกขาย และการขายดอกน ากลีบไปท าพวงมาลัยสด
                       โดยช่วงวันวาเลนไทน์ เกษตรกรจะมีการเตรียมตัดกุหลาบขายดอกตามใบสั่งซื้อของลูกค้าจากตลาด

                       หรือร้านดอกไม้จากหลายจังหวัด ซึ่งแต่ละวันจะตัดกุหลาบจ าหน่ายวันละ 5,000-6,000 ดอก ส าหรับ
                       เกษตรกรผู้ปลูกกุหลาบ บนเทือกเขาภูพาน ซึ่งตั้งอยู่ที่บ้านโนนสมบูรณ์ ต าบลสร้างค้อ อ าเภอภูพาน

                       จังหวัดสกลนคร ได้รับผลกระทบจากสภาพอากาศที่เปลี่ยนแปลงบ่อย ร้อนอบอ้าว กลางคืนเย็นจัด

                       บางวันฝนตก ส่งผลต้นกุหลาบประสบปัญหาโรครา ล าต้นแคระ ดอกกุหลาบออกน้อย สามารถตัด
                       ดอกได้ 200-300 ดอกต่อวัน ท าให้ราคาดอกกุหลาบจะแพง


                         3.6 พืชสมุนไพร ตามที่รัฐบาลได้ก าหนดให้นโยบายการพัฒนาเศรษฐกิจแบบองค์รวม (BCG Policy
                       Model) เป็นแนวทางการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ มุ่งเน้นความสมดุลของการพัฒนาเศรษฐกิจ

                       3 มิติ ได้แก่ เศรษฐกิจชีวภาพ (Bioeconomy) เศรษฐกิจหมึนเวียน (Circular Economy) และ

                       เศรษฐกิจสีเขียว (Green Economy) เพื่อให้การพัฒนาเศรษฐกิจค านึงถึงการพัฒนาสังคมและเศรษฐกิจ
                       เป็นไปอย่างสอดคล้องเหมาะสม ตามหลักการพัฒนาอย่างยั่งยืน (Sustainable Development)

                           พืชสมุนไพร ถือเป็นพืชเกษตรที่ ซึ่งประเทศไทยมีศักยภาพในการพัฒนาการผลิตเพื่อส่งเสริมให้
                       พืชสมุนไพรเป็นกลไกผลักดันนโยบาย BCG ดังกล่าว ที่ขับเคลื่อนจากชุมชนและเกษตรกรระดับพื้นที่

                       สู่การตลาดระดับโลก เนื่องจากพืชสมุนไพรแต่ละชนิดมีสรรพคุณที่แตกต่างกันในการใช้เป็นยารักษา

                       โรค ทั้งโดยภูมิปัญญาระดับพื้นบ้าน จนถึงการเป็นส่วนผสมในการผลิตยาและเวชภัณฑ์ทางการแพทย์
                       เพื่อการบ ารุงป้องกัน และรักษาโรค โดยเฉพาะในภาวะการแพร่ระบาดของไวรัสสายพันธุ์ใหม่ โคโรนาไวรัส

                       2019 (Corona Virus Disease 2019) สมุนไพรจึงทวีความส าคัญ เป็นที่ต้องการของตลาดทั้งภายใน
                       และตลาดการค้าต่างประเทศในระดับโลก สามารถสร้างรายได้ตั้งแต่ระดับครัวเรือน ชุมชน และประเทศ

                         ฐานข้อมูลจากระบบ Agri-Map Online ได้รายงานศักยภาพที่ดินจังหวัดสกลนคร มีความเหมาะสม

                       ส าหรับพืชสมุนไพรส าคัญ 4 ชนิด ได้แก่ กระชายด า บัวบก ขมิ้นชัน และไพล ซึ่งปัจจุบันได้รับ
                       การบรรจุไว้ในแผนยุทธศาสตร์สมุนไพรไทย ภายใต้กระทรวงพาณิชย์ ศักยภาพการปลูกที่ดิน

                       จังหวัดสกลนคร
   34   35   36   37   38   39   40   41   42   43   44