Page 42 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 42

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               37








                                 - พัฒนาตลาดและช่องทางจัดจ าหน่ายให้มากขึ้น โดยเน้นการแปรรูปยาง หรือไม้
                       ยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเน้นจากชุมชนที่เข้มแข็งเป็นพื้นที่ต้นแบบ

                             3) พื นที่ปลูกยางพารา ที่ไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้
                       ที่ดินปลูกยางพาราอยู่ มีแนวทางส่งเสริมดังนี้

                                 - ส่งเสริมให้มีการโค่นยางพาราที่มีอายุตั้งแต่ 25 ปี และหาพืชอื่นทดแทน เช่น

                       ส่งเสริมให้ปลูกไม้ผล มะพร้าว ไผ่หวาน มันส าปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร่ และพืชผักต่าง ๆ ทดแทน
                                 - ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้

                       พื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเข้าโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น
                                 - จัดหาตลาดให้กับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกยางพารา แต่ปัจจุบันเกษตรกร

                       ไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกยางพารา พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ข้าว อ้อยโรงงาน มันส าปะหลัง
                       ปาล์มน้ ามัน เป็นต้น ทั้งนี้ พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกยางพารา แต่

                       เกษตรกร หันมาปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้นอื่น ๆ ควรเน้นให้

                       เกษตรกรปลูกพืชดังกล่าวต่อไป เนื่องจากปัจจุบันตามมาตรการยุทธศาสตร์ยางพารา เน้นการลดพื้นที่
                       การปลูกยางพาราอยู่แล้ว ฉะนั้นควรสร้างความตระหนักให้เกษตรกร เน้นการท าการเกษตร

                       แบบผสมผสาน หรือการเข้าร่วมโครงการเกษตรทฤษฎีใหม่หรือวนเกษตร เพื่อท าให้เกษตรกรสามารถ
                       ใช้พื้นที่อย่างคุ้มค่ามากที่สุดต่อไป


                         4.3  มันส าปะหลัง
                             1) พื นที่ปลูกมันส าปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกมันส าปะหลังอยู่

                       มีเนื้อที่ 283,608 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอพรรณานิคม อ าเภอส่องดาว และอ าเภอภูพาน

                       ตามล าดับ โดยมาตรการยุทธศาสตร์มันส าปะหลัง 2564 -2567เน้นให้เกษตรกรเข้าถึงพันธุ์มัน
                       ส าปะหลังต้านทานโรค CMD ให้เชื้อแป้งสูงและมีผลผลิตเฉลี่ยต่อไร่ไม่ต่ ากว่า 5 ตัน ภายในปี 2567

                       นั้น ท าให้เน้นมีการเพิ่มผลผลิตมันส าปะหลังในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แต่เน้นการลดต้นทุนผลผลิต ตาม
                       แนวทางต่อไปนี้

                                 - เร่งหาแนวทางแก้ไขปัญหาโรคโคนเน่าหัวเน่า และโรคใบด่างมันส าปะหลัง

                                 - ส่งเสริมการท าระบบน้ าหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ
                                 - การปรับปรุงบ ารุงดิน การใส่ปุ๋ยที่ถูกต้องและมีประสิทธิภาพ

                                 - ท าการวิเคราะห์คุณภาพดินอยู่เสมอ

                                 - ส่งเสริมเกษตรกรแปรรูปมันส าปะหลังเบื้องต้นเพื่อเพิ่มมูลค่า เช่น การแปรรูป
                       มันเส้นสะอาด
   37   38   39   40   41   42   43   44   45   46   47