Page 45 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 45
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
40
- พัฒนาศักยภาพของพื้นที่ให้มากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ การบริหาร
จัดการน้ า ให้มีเพียงพอและเหมาะสมต่อการเพาะปลูก
- สร้างความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา
และการเก็บเกี่ยว
- ส่งเสริมการเพิ่มมูลคาของเสียจากโรงงานน้ าตาล และการน าของเสียจากโรงงาน
น้ าตาลไปใชในการปรับปรุงบ ารุงดินในไร่อ้อย เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดต้นทุนใหแก่เกษตรกรชาวไร่
อ้อยโดยไม่มีผลเสียต่อสุขภาพ สิ่งแวดลอม และชุมชนชาวไร่อ้อย
3) พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานไม่มีความเหมาะสม (S3 และ N) และปัจจุบันเกษตรกรยังคงใช้
ที่ดินปลูกอ้อยโรงงานอยู่พื้นที่ดังกล่าวประสบปัญหาซ้ าซาก เช่น น้ าท่วม ขาดน้ า ผลผลิตต่ า กระทรวง
เกษตรและสหกรณ์ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่ท ากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสร้างที่ดิน
สนับสนุนแหล่งน้ า ให้เกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่มีความเหมาะสม เป็นการสร้างรายได้ และ
ผลิตอาหารเพื่อบริโภค ดังนี้
- ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือใช้
พื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเข้าโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-Map) เป็นต้น
- จัดหาตลาดให้กับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกอ้อยโรงงานแต่เกษตรกร หันมา
ปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น ปาล์มน้ ามัน มะพร้าว ไม้ผล ไม้ยืนต้น มันส าปะหลัง หรือพืชไร่อื่น ๆ ควร
สร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรม
หากเกษตรกรต้องการกลับมาใช้พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานเหมือนเดิม จะได้ไม่ไม่ต้องมีต้นทุนการผลิตสูง
ในการปรับปรุงบ ารุงดิน