Page 44 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 44

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               39








                                 - ให้การช่วยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหม่ที่ให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า หรือ
                       ใช้พื้นที่ผลิตอาหารเพื่อ บริโภคในครัวเรือน หรือเข้าโครงการ ปรับเปลี่ยนการผลิต (Zoning by Agri-

                       Map) เป็นต้น
                                 - จัดหาตลาดให้กับเกษตรกรในการปลูกพืชไร่ หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจาก

                       ตลาดชุมชน

                             4) พื นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมส าหรับการปลูกมันส าปะหลัง แต่ปัจจุบัน
                       เกษตรกรไม่ได้ใช้พื้นที่ปลูกมันส าปะหลัง พบว่าเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เช่น อ้อยโรงงาน

                       ข้าวโพดเลี้ยงสัตว์ ยางพารา เป็นต้น ควรสร้างความเข้าใจให้กับเกษตรกรในการบริหารจัดการพื้นที่
                       และการปรับปรุงบ ารุงดินไม่ให้เสื่อมโทรม


                         4.4  อ้อยโรงงาน
                             1) พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปัจจุบันยังปลูกยางพาราอยู่ มีเนื้อ

                       ที่ 3,327 ไร่ มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอ าเภอส่องดาว อ าเภอบ้านม่วง และอ าเภอภูพาน ตามล าดับ

                       ทั้งนี้ ตามแผนยุทธศาสตร์ ส านักงานคณะกรรมการอ้อยและน้ าตาลทราย พ.ศ. 2560-2564 มี
                       ยุทธศาสตร์ ส่งเสริมสนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่มประสิทธิภาพ การผลิต

                       อุตสาหกรรม อ้อยน้ าตาลทราย และอุตสาหกรรม เน้นให้มีการเพิ่มผลผลิตอ้อยโรงงานในพื้นที่ที่มี

                       ศักยภาพสูง แต่เน้นการลดต้นทุนผลผลิต ตามแนวทางดังนี้
                                 - ส่งเสริมให้เกษตรกรใช้ปุ๋ยอินทรีย์แบบคุณภาพสูง

                                 - มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงค์ลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปัญหา
                       ภาวะโลกร้อน

                                 - หน่วยงานที่เกี่ยวข้องคิดค้นเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใช้เครื่องจักรเพื่อลดปัญหา

                       แรงงาน
                                 - ส่งเสริมให้เกษตรกรรวมกลุ่มและเข้าร่วมโครงการเกษตรแปลงใหญ่

                                 - จัดหาปัจจัยการผลิตให้กับเกษตรกร และอบรมให้ความรู้แก่เกษตรกรที่มี
                       การปรับปรุงบ ารุงดินโดยลดต้นทุนการผลิต

                                 - ส่งเสริมให้มีการปลูกอ้อยโรงงานที่มีสายพันธุ์ต้านทานโรค

                                 - สร้างความตระหนักและความรู้ความเข้าใจให้กับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความ
                       เหมาะสมสูง ในการปลูกอ้อยโรงงาน เพื่อแก้ไขปัญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่

                           2) พื นที่ปลูกอ้อยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปัจจุบันยังปลูกอ้อยโรงงาน

                       มีเนื้อที่ 103,676 ไร่ ส่วนใหญ่อยู่ในเขตอ าเภอสว่างแดนดิน อ าเภอส่องดาว และอ าเภอบ้านม่วง เป็นต้น
                       เกษตรกรยังคงปลูกอ้อยได้ผลดี หลายแห่งประสบปัญหาโครงสร้างของดิน ซึ่งมีแนวทางการ

                       ด าเนินการดังนี้
   39   40   41   42   43   44   45   46   47   48   49