Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดสกลนคร
P. 36
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
31
ตารางที่ 10 (ต่อ)
ข้าว (ไร่) มันส าปะหลัง (ไร่)
อ าเภอ
S3 N รวม S3 N รวม
วานรนิวาส 987 - 987 57 - 57
วาริชภูมิ 19,381 181 19,562 5,597 - 5,597
สว่างแดนดิน 50,887 2,636 53,523 9,659 - 9,659
ส่องดาว 15,571 7796.34 23,367 11,064 - 11,064
อากาศอ านวย 10,781 - 10,781 2,080 - 2,080
รวม 261,522 21,508 283,030 108,569 - 108,569
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรส่งเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให้เกษตรกร
ปลูกอ้อยโรงงานต่อไปเนื่องจากเป็นพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถช่วยลดต้นทุนการผลิตและได้ผลผลิต
ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกอ้อยโรงงานในพื้นที่ดังกล่าวข้างต้นสามารถน าไปสู่การต่อยอดโครงการ
ที่ส าคัญต่าง ๆ ได้ เช่น เกษตรอินทรีย์ ระบบส่งเสริมการเกษตรแปลงใหญ่ เกษตรแม่นย า เป็นต้น
พื้นที่ปลูกอ้อยโรงงานในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกอ้อยโรงงาน
ในที่ดินที่ไม่มีข้อจ ากัดทางกายภาพต่อการปลูกอ้อยโรงงานซึ่งควรสงวนไว้เป็นแหล่งปลูกโรงงาน
ที่ส าคัญของจังหวัด โดยกระจายอยู่ในอ าเภอบ้านม่วง อ าเภอโคกศรีสุพรรณ และอ าเภออากาศอ านวย
เป็นต้น
พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
อ้อยโรงงานในที่ดินที่มีข้อจ ากัดทางกายภาพบางประการต่อการปลูกยางพารา เช่น ความอุดมสมบูรณ์
ของดิน ความเป็นกรดเป็นด่างและแหล่งน้ า โดยกระจายอยู่ในอ าเภอสว่างแดนดิน อ าเภอพรรณานิคม
และอ าเภอเมืองสกลนคร เป็นต้น
(2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไม่เหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให้
เข้าโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เช่น เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกว่าการปลูกยางพารา
มีต้นทุนที่ต่ า และให้ผลตอบแทนที่ดีกว่า เป็นต้น แต่ทั้งนี้ต้องพิจารณาแหล่งรับซื้อร่วมด้วย
3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด
พืชเกษตรที่ได้รับความนิยมปลูกในจังหวัดสกลนคร มีทั้งพืชที่มีแหล่งก าเนิดในจังหวัด จึงมี
ความเหมาะสมกับสภาพดินและคุณสมบัติที่ดินของจังหวัดสกลนคร และพืชที่ให้ผลผลิตสูง คุณภาพดี
และเป็นที่นิยมการบริโภคของตลาด จ านวน 5 ชนิด ดังนี้ ข้าวโพดฝักสด มะเขือเทศโรงงาน แคนตาลูป