Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23







                           3.3 ถั่วเหลืองฝกสด หรือถั่วแระญี่ปุน เปนถั่วเหลืองที่มีฝกขนาดใหญ บริโภคเมล็ดในระยะ
                       เมล็ดเตงเต็มที่ แตฝกยังมีสีเขียวอยู อายุเก็บเกี่ยวฝกสด ประมาณ 65 วัน ลำตนเปนพุมเตี้ย มี 7-10

                       ขอ และแขนง 2-3 แขนง เตรียมแปลงปลูกโดยไถพรวน 2 ครั้ง เพื่อใหดินรวนและเปนการกำจัดวัชพืช
                       จากนั้นจึงยกรองหางกัน ประมาณ 1-1.2 เมตร มีพื้นที่สันแปลง ประมาณ 50-60 เซนติเมตร ปลูกได

                       2 แถว ตามขอบแปลง

                           3.4 สมโอ เปนผลไมไทยเพียงชนิดเดียวที่จะมีราคาแพงชวงในฤดู เนื่องจากผลผลิตสมโอไทย

                       จะมีการสงออกมากที่สุดในชวงเทศกาลไหวพระจันทรและเทศกาลสารทจีน ซึ่งจะตรงกับผลผลิตสมโอแก

                       และเก็บเกี่ยวขายไดพอดี ปจจุบัน ฮองกง ยังเปนประเทศที่สั่งซื้อสมโอจากประเทศไทยมากที่สุด โดย
                       สายพันธุสมโอที่นิยมสงออก ไดแก พันธุขาวน้ำผึ้ง พันธุทองดี และพันธุทับทิมสยาม เปนตน สภาพ

                       ดินที่มีความเหมาะสมตอการปลูกสมโอคือ ดินรวนปนทราย

                           3.5 มะมวง เปนไมพุมยืนตน สูงประมาณ 10 - 15 เมตร ลำตนตรง เรือนยอดกลม ทึบ ใบเดี่ยว

                       จะมีชอยอยหลายชอ ดอกยอยขนาดเล็กสีเหลืองออน กานดอกสั้น ผลสุกเดือนพฤษภาคม ถึง
                       มิถุนายน และมีพันธุทวายซึ่งออกนอกฤดูกาล ผลเปนแบบผลสด รูปทรง ขนาด และสีผิวแลวแตชนิด

                       พันธุนั้นๆ บริโภคไดทั้งผลดิบและผลสุก รสเปรี้ยว มัน และหวาน การปลูกควรปลูกชวงตนฤดูฝน หรือ

                       ประมาณเดือนพฤษภาคม ถึง กรกฎาคม เพื่อใหมะมวงตั้งตัวไดเร็วขึ้น เนื่องจากอากาศและดินมีความ
                       ชุมชื้นดี และเปนการสะดวกที่ไมตองรดน้ำในระยะแรกหลุมปลูกควรขุดใหมีขนาดความกวาง ยาว

                       และลึก ไมนอยกวา 30x30x30 เซนติเมตร

                         3.6 พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green

                       Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่งที่

                       ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสาระสำคัญที่นำไปใชประโยชนในดานตางๆ เชน การแพทย
                       ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสำอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564

                       โดยดำเนินการภายใตตลาดนำการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวย
                       ใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดำรงชีพจากฐานขอมูล Agri-Map

                       Online จังหวัดอุทัยธานี มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน

                       ขมิ้นชัน บัวบก เปนตน
                              ขมิ้นชันเปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ำดี ไม

                       ชอบน้ำขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน โดยพื้นที่จังหวัด
                       อุทัยธานีมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 56,597 ไร
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35