Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28







                             3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ำซาก เชน น้ำทวม ขาดน้ำ

                       ผลผลิตต่ำ ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสราง

                       ที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ

                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขาโครงการบริหาร

                       จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูก เชน

                       ขาว ปาลมน้ำมัน ออยโรงงาน และยางพารา เปนตน ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกร

                       อาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทำเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทำ

                       การเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40