Page 29 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 29

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               22







                             4) แนวทางการจัดการ
                               (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให

                       เกษตรกรปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ

                       ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอ
                       ยอดโครงการที่สำคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตร

                       แมนยำ เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปน

                       แหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สำคัญของจังหวัด โดยกระจายอยูในอำเภอลานสัก อำเภอทัพทัน และ
                       อำเภอหนองฉาง เปนตน

                                 พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน ความ
                       อุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดางและแหลงน้ำ โดยกระจายอยูในอำเภอบานไร อำเภอลานสัก

                       อำเภอหวยคต และอำเภอสวางอารมณ เปนตน
                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให

                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยง

                       สัตว มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด


                         3.1 แตงกวา มีลักษณะกลมยาวทรงกระบอก ความยาวผลระหวาง 5-40 เซนติเมตร ในปจจุบัน
                       แตงกวาพันธุการคาในตางประเทศ มีการปรับปรุงพันธุที่สามารถติดผลได โดยไมไดรับการผสมเกสร โดย

                       ภายในผลไมมีไส เนื้อกรอบ และน้ำหนักตอผลสูงนิยมทั้งบริโภคผลสดแปรรูป สีผลมีสีขาว เขียวออน

                       เขียว และเขียวเขมดำ สีหนามสีขาว แดง น้ำตาล และดำ แตงกวาเปนพืชที่ไมตองการน้ำมากแตขาด
                       น้ำไมได ดินที่ปลูกแตงกวาควรมีลักษณะเปนดินรวนปนทราย มีการระบายน้ำดี ควรมีความเปนกรด

                       ดาง (pH) อยูระหวาง 5.5-6.5 ในสภาพดินที่เปนดินทรายจัด หรือเหนียวจัด

                              3.2 แตงไทย ผลแตงไทยมีลักษณะกลมหรือรียาว ตามสายพันธุ ผลมีลายตามความยาวของผล มี

                       ความยาวผลประมาณ 23 เซนติเมตร เสนผาศูนยกลางประมาณ 14 เซนติเมตร ผิวเปลือกมันเรียบ ผล
                       ดิบมีสีเขียว มีลายสีขาวหรือสีเหลืองตามแนวยาว มีเนื้อสีขาวนวล สวนผลสุกมีเปลือกบาง เปลือกสี

                       เหลือง มีกลิ่นหอม เนื้อสีเหลืองนวลหรือสีเขียวออน มีรสจืด ออกเปรี้ยวมาก แตละตนติดผลประมาณ 3-5

                       ผล การปลูกแตงไทยนิยมปลูกบนแปลงไรนา
   24   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34