Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               27







                       วิธีปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให
                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการ

                       พื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืช

                       ไร หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกมันสำปะหลัง แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ำมัน ออย
                       โรงงาน และยางพารา เปนตน ภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูก

                       มันสำปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ทำใหใชตนทุนการผลิตต่ำและผลผลิตมี

                       คุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย


                         4.4  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพด

                       เลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 848 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอลานสัก และหนองฉาง ทั้งนี้โดย

                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สำคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการระบบน้ำ การจัดการดิน ปุย พันธุ

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและ

                       ตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทำมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการ

                       ปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง
                       ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หาก

                       ราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกรตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปลี่ยนเปน

                       พืชไร เพื่อในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก

                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 46,864 ไร สวนใหญอยูในเขตอำเภอลานสัก บานไร เกษตรกรยังคงปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดิน ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุน

                       ดานการบริหารจัดการระบบน้ำ เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน

                       ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตร

                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยำหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ

                       เกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ทั้งนี้หากขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       ราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาปลูกขาวโพด

                       เลี้ยงสัตวไดอีก
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39