Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26







                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกออยโรงงาน แตเกษตรกรหันมา
                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ำมัน ยางพารา ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการบริหาร

                       จัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบำรุงดินไมใหเสื่อมโทรม


                         4.3  มันสำปะหลัง

                             1) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสำปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 17,300 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอำเภอสวางอารมณ อำเภอลานสัก อำเภอบานไร

                       ตามลำดับ ซึ่งตามมาตรการยุทธศาสตรมันสำปะหลัง 2564 - 2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมัน

                       สำปะหลังตานทานโรคใบดาง (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไม

                       ต่ำกวา 5 ตัน ภายในป 2567 นั้น โดยเนนการเพิ่มผลผลิตมันสำปะหลังและลดตนทุนการผลิตในพื้นที่

                       ที่มีศักยภาพสูง ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาวควรเรงหาแนวทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบ
                       ดางมันสำปะหลัง อีกทั้งควรมีการสงเสริมการทำระบบน้ำหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีการปรับปรุงบำรุงดิน

                       การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ ทำการวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมเกษตรกรแปรรูป

                       มันสำปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด สรางความรวมมือระหวาง

                       เกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ

                       และระยะเวลาที่เหมาะสม ใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง เขารวมโครงการระบบ

                       สงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ และสงเสริมใหเกษตรกรเปน Smart Farmer รวมทั้ง

                       ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม
                             2) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       มันสำปะหลังอยู มีเนื้อที่ 171,491 ไร กระจายอยูในทุกอำเภอ ซึ่งเกษตรกรยังคงปลูกมันสำปะหลัง

                       ไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน ทั้งนี้ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ให

                       มากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ ทำการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมใหมีการใสปุย

                       ตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่
                       การปลูก การดูแลรักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการใชทอนพันธุที่

                       ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ำหยดและการใชน้ำจากแหลงน้ำในพื้นที่ ใหมีการใช

                       ประโยชนกับมันสำปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสำปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน

                       การแปรรูปมันเสนสะอาด ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                             3) พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) ) และปจจุบัน

                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสำปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ำซาก เชน น้ำทวม ขาดน้ำ

                       ผลผลิตต่ำ ดังนั้นควรมีการสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมี
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38