Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               24







                              บัวบกเปนพืชที่ปลูกโตงายในพื้นที่ที่มีความอุดมสมบูรณ เก็บเกี่ยวไดรวดเร็ว และสามารถให
                       ผลผลิตไดตลอดป โดยพื้นที่จังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความ

                       เหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 6,453 ไร

                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ


                         4.1  ขาว

                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 287,890
                       ไร อยูในเขตอำเภอหนองฉาง อำเมืองอุทัยธานี อำเภอหนองขาหยาง อำเภอทัพทัน อำเภอสวงอารมณ

                       อำเภอลานสัก และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอำเภอบานไร โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน 8 อำเภอ ทั้งนี้
                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาว

                       ที่สำคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ำชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุม

                       เปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน
                       มีภาครัฐสนับสนุนการทำมาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                       (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยให

                       เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบำรุงดิน
                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก

                       ถึง 189,956 ไร กระจายตัวอยูในทุกอำเภอของจังหวัดอุทัยธานี เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจำกัดไมมากนัก

                       เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ำในบางชวงของการเพาะปลูก
                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ำ เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใช

                       ที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทำงานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสำหรับการเกษตร
                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยำหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ

                       เกษตรกรโดยแนะนำวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยน

                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทำนาไดอีก
                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกขาวอยู 110,404 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ำทวมซ้ำซาก ขาดน้ำ ผลผลิตต่ำ กระทรวงเกษตรและ
                       สหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทำกินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน

                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบำรุงดิน สนับสนุนแหลงน้ำ ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม

                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน

                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสำหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมได

                       ใชพื้นที่ปลูกขาว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36