Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               18







                               (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนให
                       เขาโครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกมันสำปะหลัง

                       มีตนทุนที่ต่ำ และใหผลตอบแทนที่ดีกวา เปนตน แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                           2.4   ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                   ขาวโพดเลี้ยงสัตวเปนพืชเศรษฐกิจที่สำคัญของจังหวัดอุทัยลำดับที่ 4 จากฐานขอมูลใน
                       แผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                                 1)  การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 8,331 ไร คิดเปนรอยละ 0.44 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอลานสัก 4,409 ไร อำเภอทัพทัน 2,341 ไร และ

                       อำเภอหนองฉาง 1,581 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 916,247 ไร คิดเปนรอยละ

                       48.60 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 339,391 ไร อำเภอลานสัก

                       235,141 ไร และอำเภอสวางอารมณ 104,766 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ ที่ 238,936 ไร คิดเปนรอยละ

                       12.68 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอำเภอบานไร 140,522 ไร อำเภอสวางอารมณ

                       29,753 ไร และอำเภอลานสัก 22,192 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 721,751  ไร

                                    2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในปจจุบัน ซึ่งจำแนกตามชั้นความ

                       เหมาะสมของที่ดิน ไดดังนี้
                                    (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 847 ไร คิดเปนรอยละ 10.18 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       สูง กระจายตัวมากอยูในอำเภอหนองฉาง 503 ไร และอำเภอลานสัก 344 ไร
                                    (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 46,864 ไร คิดเปนรอย 5.11 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอำเภอลานสัก 14,673 ไร อำเภอบานไร 12,532 ไร และ
                       อำเภอทัพทัน 7,260 ไร

                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 33,019 ไร คิดเปนรอยละ 13.82 ของพื้นที่

                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอำเภอสวางอารมณ 14,450 ไร อำเภอทัพทัน 6,744 ไร และ
                       อำเภอบานไร 6,464 ไร

                                     (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 7,531 ไร

                                    3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวแตไมใช
                       พื้นที่ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสำหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว และพื้นที่ปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุทัยธานีมีพื้นที่ศักยภาพ
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30