Page 26 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 26
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
19
คงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 876,866 ไร
กระจายอยูในอำเภอตาง ๆ โดยอำเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อำเภอบานไร
326,859 ไร รองลงมา ไดแก อำเภอลานสัก 224,533 ไร อำเภอหวยคต 98,318 ไร และอำเภอ
สวางอารมณ 97,766 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
(1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 7,484 ไร คิดเปนรอยละ 89.82 ของพื้นที่
ศักยภาพสูง พบมากในอำเภอลานสัก 4,065 ไร อำเภอทัพทัน 2,341 ไร อำเภอหนองฉาง 1,078 ไร
(2) พื้นที่เหมาะสมปานกลางคงเหลือ (S2) มีเนื้อที่ 869,383 ไร คิดเปนรอยละ
94.89 พื้นที่ศักยภาพปานกลาง พบมากในอำเภอบานไร 326,859 ไร อำเภอลานสัก 220,468 ไร อำเภอ
หวยคต 98,318 ไร
ตารางที่ 9 พื้นที่ศักยภาพ พื้นที่ปลูกจริง พื้นที่คงเหลือของขาวโพดเลี้ยงสัตวรายอำเภอ จังหวัด
อุทัยธานี
เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
อำเภอ ประเภทพื้นที่
S1 S2 S3 N รวม
339,391 140,522 72,017 551,931
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 12,532 6,464 1,470 20,466
บานไร -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) ((3.69%) (4.60%) (2.04%) (3.71%)
326,859 326,859
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(96.31%) (59.22)
4,409 235,141 22,192 86,492 348,235
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 344 14,673 4,451 2,252 21,719
ลานสัก
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (7.80%) (6.24%) (20.06%) (2.66%) (6.24%)
4,065 220,468 224,533
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - -
(92.20%) (93.76%) (64.48%)
104,766 29,753 114,973 249,492
พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน -
(100.00%) (100.00%) (100.00%) (100.00%)
พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ 7,000 14,450 539 21,989
สวางอารมณ -
เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) (6.68%) (48.57%) (0.47%) (8.81%)
97,766 97,766
พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ - - -
(93.32%) (39.19%)