Page 24 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุทัยธานี
P. 24
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
17
ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับ
ความเหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืช
ตรงตามศักยภาพของดิน การลงทุนต่ำก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว
เมื่อวิเคราะหขอมูล พบวาพื้นที่ที่ควรสงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสำปะหลัง
คือ บริเวณพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 103,488 ไร พื้นที่ปลูกออย (S3+N) 83,485 ไร และพื้นที่ปลูก
ยางพารา (S3+N) 13,938 ไร (ดังตารางที่ 8)
ตารางที่ 8 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตมันสำปะหลัง
ขาว (ไร) ออยโรงงาน (ไร) ยางพารา (ไร)
อำเภอ
S3 N รวม S3 N รวม S3 N รวม
ทัพทัน 18,423 7,144 25,567 - - - 206 - 206
ลานสัก 13,753 740 14,493 391 - 391 853 - 853
หวยคต 4,861 21 4,882 - - - 3,318 - 3,318
บานไร 2,255 635 2,890 79,907 1 79,908 8,429 87 8,516
หนองฉาง 15,697 1,044 16,741 1,200 - 1,200 872 - 872
สวางอารมณ 21,727 183 21,910 - - - 97 - 97
หนองขาหยาง 9,060 980 10,040 1,907 - 1,907 76 - 76
เมืองอุทัยธานี 5,741 1,224 6,965 79 - 79 - - 0
รวม 91,517 11,971 103,488 83,484 1 83,485 13,851 87 13,938
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
เกษตรกรปลูกมันสำปะหลังตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและ
ไดผลผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกมันสำปะหลังในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนำไปสูการตอยอด
โครงการที่สำคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยำ เปนตน
พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกมันสำปะหลัง
ในที่ดินที่ไมมีขอจำกัดทางกายภาพตอการปลูกมันสำปะหลัง ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกมันสำปะหลังที่
สำคัญของจังหวัด กระจายอยูในอำเภอสวางอารมณื อำเภอบานไร และอำเภอลานสัก เปนตน
พื้นที่ปลูกมันสำปะหลังในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
มันสำปะหลังในที่ดินที่มีขอจำกัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกมันสำปะหลัง เชน ความอุดมสมบูรณของ
ดิน ความเปนกรดเปนดาง และแหลงน้ำ กระจายอยูในอำเภอบานไร อำเภอลานสัก และอำเภอหวยคต เปนตน