Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               25








                       3. พืชเศรษฐกิจอนาคตไกลของจังหวัด

                         3.1  สับปะรดหวยมุน (GI) เปนสับปะรดพันธุปตตาเวียมีเอกลักษณที่โดดเดนคือ ผิวบาง ตาตื้น
                       เนื้อหนา นิ่มเนื้อในสีเหลืองน้ําผึ้ง รสชาติหวานหอม ฉ่ําน้ํา ลักษณะทางภูมิศาสตรที่ทําใหสับปะรด
                       หวยมุน มีความโดดเดนกวาสับปะรดที่เพาะปลูกในทองที่อื่นคือ สภาพดินเปนดินรวนปนทราย

                       สามารถระบายน้ําไดดี ลักษณะภูมิอากาศในฤดูรอนจะไมรอนมาก สวนในฤดูหนาวจะหนาวเย็น
                       ซึ่งเปนสภาพทางภูมิศาสตรที่เหมาะสมกับการเพาะปลูกสับปะรดเปนอยางมาก

                         3.2  ลางสาด จังหวัดอุตรดิตถเปนจังหวัดหนึ่งที่มีการเพาะปลูกและใหผลผลิตลางสาดที่ไดรับการ
                       ยอมรับจากทั่วประเทศ มีการปลูกในพื้นที่อําเภอลับแล อําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอทาปลา

                       ลางสาดของจังหวัดอุตรดิตถจะมีกลิ่นหอม รสชาติหวาน อรอย จะเจริญเติบโตไดดีในพื้นที่ดินรวนปนทราย
                       มีอินทรียวัตถุมาก เชน พื้นที่ในปาเขตรอนชื้นทั่วไปที่มีความอุดมสมบูรณตามธรรมชาติ ความชื้น
                       คอนขางสูงที่ไดรับจากรมไมใหญนอยนานาพรรณ ถานํามาปลูกในพื้นที่ราบโลง ตองปรับ
                       สภาพแวดลอมใหเหมือนปาธรรมชาติเดิม คือตองใหมีรมเงาใหมาก ๆ โดยทําสวนกลวย หรือปลูก
                       ไมโตเร็ว มีทรงพุมที่พอพรางแสงได เชน เพกา มะรุม ทองหลาง สะตอ ทําเปนไมรมเงา รักษาความชื้น

                       แลวคอยปลูกตนลางสาดแซมตามระยะตาง ๆ ที่ตองการ

                         3.3  มะมวงหิมพานต มีลักษณะคลายผลชมพูหรือลูกแพร ผลเปนพวงหอยลงมา ขนาดผลยาว
                       ประมาณ 5-8 เซนติเมตร เนื้อผลฉ่ําน้ํา มีกลิ่นหอม ผลออนมีสีเขียวหรือเหลืองอมชมพู เมื่อผลสุกจะ
                       เปลี่ยนเปนสีเหลืองหรือสีสมแดง ที่ปลายผลมีเมล็ด 1 เมล็ด ลักษณะคลายรูปไต มีเปลือกแข็ง
                       มีสีน้ําตาลปนเทา ขางในผลมีเมล็ด พื้นที่ปลูกมะมวงหิมพานต สวนใหญอยูที่อําเภอทาปลา โดยเฉพาะ

                       บริเวณเขื่อนสิริกิติ์ และขณะนี้เริ่มมีการขยายไปที่อําเภอน้ําปาด อําเภอฟากทา และอําเภอบานโคก
                       โดยพืชชนิดนี้ทนตอสถานการณแลงไดดี ดังนั้นในชวงหนาแลงจึงไมไดรับผลกระทบ โดยจะใช
                       ระยะเวลาในการปลูก 3 ป จึงจะไดผลผลิต

                         3.4  ทุเรียนหลงลับแลอุตรดิตถ (GI) เปนพันธุที่มีผลทรงกลม หรือกลมรี ขนาดเล็ก เปลือกบาง

                       เนื้อเยอะ สีเหลืองเขม เนื้อแหงละเอียดเหนียว มีกลิ่นออน รสชาติหวานมัน เมล็ดลีบเล็ก มีพื้นที่ปลูก
                       ในเขตพื้นที่อําเภอลับแล อําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอทาปลา

                         3.5  ทุเรียนหลินลับแลอุตรดิตถ (GI) เปนพันธุที่มีผลทรงกระบอก เปลือกบาง เนื้อสีเหลืองเขม
                       เนื้อละเอียด เหนียว แหง รสชาติหวานมัน กลิ่นออน เนื้อมาก เสนใยนอยเก็บไวไดนานโดยไมแฉะ
                       เมล็ดลีบเล็ก ปลูกในเขตพื้นที่อําเภอลับแล อําเภอเมืองอุตรดิตถ และอําเภอทาปลา

                         3.6  พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-Green

                       Economy) หรือ เศรษฐกิจชีวภาพ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปนเรื่องหนึ่ง
                       ที่ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน การแพทย
                       ผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป 2564 โดย
                       ดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมากขึ้นจะชวยให

                       เกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพร มีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพ จากฐานขอมูล Agri-Map Online
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37