Page 36 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 36

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               29








                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน
                       พืชไร เชน ขาว ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวได

                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้น
                       อาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตรแบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตอง

                       พิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย

                         4.4  มันสําปะหลัง
                              1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลังอยู

                       มีเนื้อที่ 6,471 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอพิชัย อําเภอตรอน อําเภอน้ําปาด อําเภอทองแสนขัน
                       อําเภอฟากทา อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา อําเภอบานโคก อําเภอลับแล ตามลําดับ

                       ซึ่งตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 - 2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมันสําปะหลัง
                       ตานทานโรคใบดาง (Cassava Mosaic Disease: CMD) ใหเชื้อแปงสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา

                       5 ตัน ภายในป 2567 นั้น โดยเนนการเพิ่มผลผลิตมันสําปะหลังและลดตนทุนการผลิตในพื้นที่ที่มี
                       ศักยภาพสูง ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาวควรเรงหาแนวทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบดาง
                       มันสําปะหลัง อีกทั้งควรมีการสงเสริมการทําระบบน้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีการปรับปรุงบํารุงดิน

                       การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ ทําการวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมเกษตรกรแปรรูป
                       มันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูปมันเสนสะอาด สรางความรวมมือระหวาง

                       เกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของเกษตรกร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ
                       และระยะเวลาที่เหมาะสม ใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง เขารวมโครงการระบบ

                       สงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ และสงเสริมใหเกษตรกรเปน Smart Farmer รวมทั้ง
                       ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                              2)  พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 20,207 ไร กระจายอยูในทุกอําเภอ ซึ่งเกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหง
                       ประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน ทั้งนี้ควรพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของ

                       คุณภาพดิน และ ทําการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมใหมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน
                       ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแล

                       รักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการใชทอนพันธุที่ตานทานโรค และ
                       ใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ําหยดและการใชน้ําจากแหลงน้ําในพื้นที่ ใหมีการใชประโยชนกับ

                       มันสําปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน การแปรรูป
                       มันเสนสะอาด ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                              3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา
                       ดังนั้นควรมีการสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมีวิธีปองกัน
   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41