Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               27








                       ที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือ
                       เขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปนพืชไร เชน ออยโรงงาน
                       มันสําปะหลัง ขาวโพดเลี้ยงสัตว เปนตน ในอนาคตขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวได

                       เหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริม
                       ในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน

                         4.2  ออยโรงงาน

                              1) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกออยโรงงานอยู
                       มีเนื้อที่ 4,414 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอพิชัย อําเภอทองแสนขัน และกระจายตัวเปนพื้นที่เล็ก

                       ๆ ในอําเภอทาปลา อําเภอเมืองอุตรดิตถ ตามแผนยุทธศาสตรสํานักงานคณะกรรมการออยและน้ําตาล
                       ทราย พ.ศ. 2560-2564 มียุทธศาสตร สงเสริม สนับสนุนการวิจัย การบริหารจัดการ และการเพิ่ม

                       ประสิทธิภาพ การผลิตอุตสาหกรรม ออยน้ําตาลทราย และอุตสาหกรรม เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตออย
                       โรงงานในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง แตเนนการลดตนทุนผลผลิต ทั้งนี้ควรสงเสริมใหเกษตรกรใชปุยอินทรีย
                       แบบคุณภาพสูง มีการเก็บเกี่ยวผลผลิตโดยการรณรงคลดการเผาตอซังเพื่อเพิ่มผลผลิตและลดปญหา

                       ภาวะโลกรอน หนวยงานที่เกี่ยวของคิดคนเทคโนโลยีการเก็บเกี่ยวโดยใชเครื่องจักรเพื่อลดปญหา
                       แรงงาน สงเสริมใหเกษตรกรรวมกลุมและเขารวมโครงการเกษตรแปลงใหญ จัดหาปจจัยการผลิต

                       ใหกับเกษตรกร และอบรมใหความรูแกเกษตรกรที่มีการปรับปรุงบํารุงดินโดยลดตนทุนการผลิต
                       สงเสริมใหมีการปลูกออยโรงงานที่มีสายพันธุตานทานโรค สรางความตระหนักและความรูความเขาใจ

                       ใหกับเกษตรกรที่มีพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง ในการปลูกออยโรงงาน เพื่อแกไขปญหาการปรับเปลี่ยนพื้นที่
                              2) พื้นที่ปลูกออยโรงงานที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกออย

                       โรงงานอยู มีเนื้อที่ 94,162 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอตรอน อําเภอพิชัย อําเภอทองแสนขัน และ
                       อําเภอเมืองอุตรดิตถ เกษตรกรยังคงปลูกออยโรงงานไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบาง
                       ชวงของการเพาะปลูก ดังนั้นควรมีการพัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน

                       และการบริหารจัดการน้ําใหมีเพียงพอและเหมาะสมตอการเพาะปลูก สรางความรูความเขาใจใหกับ
                       เกษตรกรในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการเพิ่มมูลคาของเสีย

                       จากโรงงานน้ําตาล และการนําของเสียจากโรงงานน้ําตาลไปใชในการปรับปรุงบํารุงดินในไรออย
                       เพื่อเพิ่มผลผลิตและลดตนทุนใหแกเกษตรกรชาวไรออยโดยไมมีผลเสียตอสุขภาพ สิ่งแวดลอม และ

                       ชุมชนชาวไรออย
                              3) พื้นที่ปลูกออยโรงงานในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร

                       ยังคงใชที่ดินปลูกออยโรงงานอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา
                       ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิต
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39