Page 27 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 27

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               20








                         2.4  มันสําปะหลัง
                              มันสําปะหลังเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญที่สรางมูลคาใน 10 อันดับแรกใหจังหวัดอุตรดิตถ พื้นที่
                       ปลูกมากที่สุดอยูในพื้นที่อําเภอพิชัย จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online
                       วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)

                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง
                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 271,673 ไร คิดเปนรอยละ 14.73 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 74,775 ไร อําเภอตรอน 53,144 ไร และอําเภอ
                       น้ําปาด 44,230 ไร

                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 263,771 ไร คิดเปนรอยละ
                       14.30 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 55,089 ไร อําเภอเมืองอุตรดิตถ
                       47,686 ไร และอําเภอน้ําปาด 45,844 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 355,217 ไร คิดเปนรอยละ

                       19.26 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองอุตรดิตถ 91,870 ไร อําเภอ
                       ทองแสนขัน 75,320 ไร และอําเภอทาปลา 70,694 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 953,616 ไร

                              2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสมของที่ดิน
                       ไดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 6,471 ไร คิดเปนรอยละ 2.38 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอตรอน 3,010 ไร อําเภอทองแสนขัน 1,332 ไร และอําเภอน้ําปาด 1,175 ไร
                                (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 20,207 ไร คิดเปนรอยละ 7.66 ของพื้นที่

                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอพิชัย 10,766 ไร อําเภอทองแสนขัน 2,698 ไร และ
                       อําเภอน้ําปาด 2,521 ไร
                                (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 8,756 ไร คิดเปนรอยละ 2.46 ของพื้นที่ศักยภาพ

                       เล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอทองแสนขัน 3,073 ไร อําเภอน้ําปาด 1,822 ไร และอําเภอเมือง
                       อุตรดิตถ 1,595 ไร
                                (4) พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 312 ไร
                              3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกมันสําปะหลังแตยังไมใชพื้นที่

                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง และพื้นที่ปลูกมันสําปะหลังใน
                       ชั้นความเหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดอุตรดิตถมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 508,766 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ
                       โดยอําเภอที่มีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอพิชัย  118,257 ไร รองลงมา ไดแก อําเภอ

                       น้ําปาด 86,378 ไร และอําเภอทองแสนขัน  78,197 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้
                                (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 265,202 ไร คิดเปนรอยละ 97.62 ของพื้นที่
                       ศักยภาพสูง พบมากในอําเภอพิชัย 73,934 ไร อําเภอตรอน 50,134 ไร และอําเภอน้ําปาด 43,055 ไร
   22   23   24   25   26   27   28   29   30   31   32