Page 37 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 37

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               30








                       และแกไขปญหาที่ลดตนทุน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่
                       ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่
                       เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชไร

                       หรือพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ภาครัฐควรใหความรู
                       แกเกษตรกรและสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสําปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม

                       ทําใหใชตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย
   32   33   34   35   36   37   38   39   40   41   42