Page 35 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 35

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               28








                       พืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map)
                       เปนตนทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
                              4) พื้นที่ที่มีศักยภาพ หรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกออยโรงงานแตเกษตรกรหันมา

                       ปลูกพืชอื่นทดแทน เชน ขาว ปาลมน้ํามัน ทุเรียน เงาะ ควรสรางความเขาใจใหกับเกษตรกรในการ
                       บริหารจัดการพื้นที่ และการปรับปรุงบํารุงดินไมใหเสื่อมโทรม

                         4.3  ขาวโพดเลี้ยงสัตว

                              1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 1,244 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอน้ําปาด อําเภอตรอน

                       อําเภอทาปลา อําเภอทองแสนขัน ตามลําดับ ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรให
                       มีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และมีการ

                       บริหารจัดการระบบน้ํา การจัดการดิน ปุย พันธุขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลงใหญ
                       พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา

                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)
                       และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควร
                       ปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกร

                       ตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปลี่ยนเปนพืชไร เพื่อในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
                              2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 67,265 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอน้ําปาด อําเภอทองแสนขัน อําเภอ
                       บานโคก อําเภอตรอน อําเภอพิชัย อําเภอฟากทา อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา เกษตรกรยังคง

                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดิน ในพื้นที่ดังกลาวควร
                       สนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการ

                       ใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับ
                       การเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรู
                       ความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น ทั้งนี้หากขาวโพดเลี้ยงสัตว

                       ราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวไดอีก

                              3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา

                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับโครงสราง
                       ที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความเหมาะสม และ

                       ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขาโครงการบริหาร
                       จัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39   40