Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               26








                       จังหวัดอุตรดิตถ มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด เชน ขมิ้นชัน
                       บัวบก เปนตน
                              ขมิ้นชันเปนพืชปลูกงาย ชอบแสงแดดจัด และมีความชื้นสูง ชอบดินรวนซุย มีการระบายน้ําดี
                       ไมชอบน้ําขัง เกษตรกรสามารถปลูกขมิ้นชันแซมในสวนเปนการใชพื้นที่ใหเกิดประโยชน และมีรายได

                       ระหวางรอการเติบโตของยางพาราหรือปาลมน้ํามัน โดยพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถมีพื้นที่ศักยภาพในการ
                       ปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) 288,841 ไร
                              บัวบก ขยายพันธุไดโดยใชเมล็ด และใชลําตนหรือที่เรียกวาไหล บัวบกสามารถขึ้นไดดีทั้งใน
                       ที่รม และที่โลงแจง แตจะเจริญเติบโตไดดีในดินที่มีความอุดมสมบูรณและมีความชื้นในดินพอเหมาะ

                       ในกรณีที่ตองการปรับปรุงดินควรใสปุยอินทรียหรือปุยคอก ดูแลงาย สามารถปลูกแซมระหวางแปลง
                       โดยพื้นที่จังหวัดอุตรดิตถ มีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบกที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) 25,876 ไร

                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว

                              1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 115,523 ไร
                       อยูในเขตอําเภอพิชัย อําเภอลับแล อําเภอทองแสนขัน อําเภอเมืองอุตรดิตถ อําเภอทาปลา อําเภอฟากทา

                       และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอําเภอตรอน โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน 7 อําเภอ ทั้งนี้
                       คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงผลิตขาว
                       ที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว โดยรวมกลุม

                       เปนเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศการแปรรูป แหลงทุน
                       มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และการปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี

                       (Good Agricultural Practices: GAP) และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืชหลังนาจะชวยให
                       เกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน

                              2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก
                       ถึง  473,083 ไร กระจายตัวอยูในทุกอําเภอของจังหวัดอุตรดิตถ เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก

                       เกษตรกรยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก
                       ควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใช
                       ที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตร

                       แบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับ
                       เกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยน

                       การผลิตควรเปนพืชไร เพื่อในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก
                              3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน

                       ปลูกขาวอยู 60,882 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวงเกษตรและ
                       สหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดยสนับสนุน

                       การปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหม
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38