Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดอุตรดิตถ์
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               23








                       ตารางที่ 9  (ตอ)

                                                                    เนื้อที่ชั้นความเหมาะสม (ไร)
                        อําเภอ       ประเภทพื้นที่
                                                         S1        S2         S3        N         รวม

                                                           113       3,296    44,777    201,923   250,109
                                พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                       (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)   (100.00%)
                                พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ     -         -        71          -        71
                         ลับแล
                                เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)
                                                                              (0.16%)             (0.03%)
                                                           113       3,296        -          -      3,409
                                พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                       (100.00%)   (100.00%)                      (1.36%)

                                                        271,673    263,771   355,217   953,616   1,844,277
                                พื้นที่ศักยภาพของที่ดิน
                                                      (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)  (100.00%)
                        รวมทั้ง  พื้นที่เพาะปลูกในชั้นความ   6,471   20,207    8,756       312     35,746
                        จังหวัด  เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง)   (2.38%)   (7.66%)   (2.46%)   (0.03%)   (1.94%)


                                                        265,202    243,564        -          -    508,766
                                พื้นที่ศักยภาพคงเหลือ
                                                       (97.62%)   (92.34%)                       (27.59%)

                                ทั้งนี้ ในการสงเสริมการปลูกพืชจะพิจารณาเฉพาะพื้นที่ที่มีศักยภาพคงเหลือในระดับความ
                       เหมาะสมสูง (S1) และระดับความเหมาะสมปานกลาง (S2) เทานั้น เนื่องจากสภาพพื้นที่ปลูกพืชตรงตาม
                       ศักยภาพของดิน การลงทุนต่ําก็สามารถเพิ่มผลผลิตได จึงควรสงเสริมในพื้นที่ดังกลาว

                                เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
                       พิจารณาใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกมันสําปะหลัง คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 68,596 ไร
                       และพื้นที่ปลูกออยโรงงาน (S3) 5,519 ไร (ตารางที่ 10)
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35