Page 30 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 30

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               23







                         3.4   แมคคาเดเมีย เปนไมยืนตนจําพวกหนึ่ง แมวาแมคคาเดเมียจะมีลักษณะเหมือนถั่ว แตถึงอยางไรก็
                       ตามมันก็เปนตนไมประเภทนัทที่มีคุณคาทางอาหารสูงมากและมีราคาสูง ตนไมชนิดนี้จะใหผลดีก็ตอเมื่อ
                       ปลูกบนพื้นที่คอนขางสูงเทานั้นแมคคาเดเมียเปนไมผลที่มิใชมีถิ่นกําเนิดในประเทศไทยแตเปนพืชทองถิ่น
                       ของประเทศเครือรัฐออสเตรเลียแตหากพื้นที่ใดในโลกนี้ที่มีสภาพอากาศหนาวเย็นอุณหภูมิเฉลี่ย 10-25

                       องศาเซลเซียส หากพื้นที่นั้นมีอุณหภูมิ 18 องศาเซลเซียสสัก 1 เดือน ก็สามารถนํามาปลูกได ไมผลชนิดนี้
                       ชอบดินรวนซุยเปนดินที่มีการระบายน้ําไดดีมีหนาดินลึกปลูกแลวตองนําไมมาปกผูกดวยเชือกกันโยกเพราะ
                       เปนไมผลที่มีระบบรากตื้นที่สําคัญควรปลูกคละสายพันธุกันธรรมชาติของมะคาเดเมียชอบผสม
                       ขามสายพันธุ และตองปลูกทั้งตนตัวผูและตนตัวเมียแมคคาเดเมียเปนสายพันธุที่พัฒนามาจาก

                       พันธุของออสเตรเลียและไดมีการปรับปรุงพันธุใหมีขนาดผลใหญขึ้นมีรสชาติหวานมันกลิ่นหอม
                       กวาเดิมพื้นที่จังหวัดลําปางสวนใหญจะปลูกสายพันธุเชียงใหม 700 ผลมีขนาดปานกลางผิวเรียบ
                       สีน้ําตาลออนมีจุดลายประเนื้อสีขาวและสายพันธุพิททูมีผลขนาดใหญเนื้อในหนาผิวออกเรียบสีเขียว
                       ถึงน้ําตาลแมคคาเดเมียเจริญเติบโตไดดีบนพื้นที่สูงจากระดับน้ําทะเล 700 เมตรขึ้นไป


                         3.5   โกโก จัดเปนพรรณไมพื้นเมืองของประเทศเม็กซิโกแตมีการนํามาปลูกทั่วไปในเขตรอน
                       ในประเทศไทยมีผูนําเขามาปลูกตามสวนทั่วไปทางภาคใตโดยจัดเปนไมยืนตนขนาดเล็กมีความสูงของตน
                       ประมาณ 3-8 เมตร และอาจสูงไดถึง 13 เมตร ขึ้นใตรมเงาไมอากาศรอนความชื้นสูงและมีฝนตกชุก

                         3.6  พืชสมุนไพร ดวยนโยบายของรัฐบาลที่ใหการสนับสนุนแนวคิด BCG (Bio-Circular-
                       GreenEconomy) หรือเศรษฐกิจชีวภาพ ในการขับเคลื่อนเศรษฐกิจของประเทศ พืชสมุนไพรเปน

                       เรื่องหนึ่งที่ไดรับความสนใจ เนื่องจากเปนแหลงของสารสําคัญที่นําไปใชประโยชนในดานตาง ๆ เชน
                       การแพทยผลิตภัณฑเสริมอาหาร และเครื่องสําอาง จึงสนับสนุนใหพืชสมุนไพรเปนพืชทางเลือกในป
                       2564 โดยดําเนินการภายใตตลาดนําการผลิต และหากทิศทางของตลาดสมุนไพรขยายตัวเพิ่มมาก
                       ขึ้นจะชวยใหเกษตรกรผูปลูกพืชสมุนไพรมีรายไดและความมั่นคงในการดํารงชีพ จากฐานขอมูล
                       Agri-Map Online จังหวัดลําปาง มีพื้นที่ศักยภาพที่สามารถสงเสริมใหปลูกพืชสมุนไพรไดหลายชนิด

                       เชน ขมิ้นชัน ไพล เปนตน
                             บัวบก จากแหลงปลูกจังหวัดลําปางใบเดี่ยวคลายรูปไตขนาดเสนผานศูนยกลางใบเฉลี่ย 4.10
                       เซนติเมตร ขอบใบหยักเล็กนอยโคนใบเวาลึกจํานวน 15-20 ใบตอตน กานใบเขียวยาวเฉลี่ย 7.00 เซนติเมตร

                       ชอดอกออกที่ซอกใบจํานวน 3 ดอก กานชอดอกยาว 0.50 เซนติเมตร ดอกอยูรวมกัน 1-5 ดอก
                       ไหลสีเขียวอมมวงความยาวไหลเฉลี่ย 9.20 เซนติเมตร พื้นที่ที่ปลูกบัวบกตองเปนพื้นที่ดอนไมมีน้ําขัง หรือ
                       ควบคุมน้ําไดดีพื้นที่ปลูกที่นี่เปนดินนาคอนขางเหนียวการเตรียมดินไดทําการไถพรวนดินในพื้นที่นา
                       ใหรวนซุยเชนเดียวกันกับการปลูกพืชผักทั่ว ๆ ไป โดยพื้นที่จังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพในการปลูกบัวบก

                       ที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 82,179 ไร กระจายอยูในอําเภอปาซาง อําเภอเมืองลําปาง เกาะคา
                       และหางฉัตร
                             ขมิ้นชัน เปนไมลมลุกอายุหลายปสูง 30 - 90 เซนติเมตร เหงาใตดินรูปไขมีแขนงรูป
                       ทรงกระบอกแตกออกดานขาง 2 ดาน ตรงกันขามเนื้อในเหงาสีเหลืองสมมีกลิ่นเฉพาะใบเดี่ยวแทง

                       ออกมาเหงาเรียงเปนวงซอนทับกันรูปใบหอกกวาง 12-15 เซนติเมตร ยาว 30-40 เซนติเมตร ดอกชอ
                       แทงออกจากเหงาแทรกขึ้นมา ระหวางกานใบรูปทรงกระบอกกลีบดอกสีเหลืองออนใบประดับสีเขียว
   25   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35