Page 32 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 32

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               25







                         4.2  ขาวโพดเลี้ยงสัตว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวโพดเลี้ยง
                       สัตวอยูมีเนื้อที่ 20 ไร มีพื้นที่ปลูกมากในเขตอําเภอเมืองลําปาง ทั้งนี้โดยคณะอนุกรรมพัฒนาที่ดินจังหวัด

                       สมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด และ
                       มีการบริหารจัดการระบบน้ํา การจัดการดิน ปุย พันธุขาวขาวโพดเลี้ยงสัตว โดยรวมกลุมเปนเกษตรแปลง

                       ใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศ การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํา
                       มาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และ การปฏิบัติทางการเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)

                       และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวา
                       ไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากราคาไมดีหรือประสบปญหาโรค แมลงรบกวน และเกษตรกร

                       ตองการเปลี่ยนชนิดพืชควรเปลี่ยนเปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตจะไดกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดอีก
                             2) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู มีเนื้อที่ 29,842 ไร สวนใหญอยูในเขตอําเภอเมืองลําปาง อําเภอหางฉัตร อําเภอ

                       เถิน และอําเภอแมทะ เกษตรกรยังคงปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดผลดี หลายแหงประสบปญหา
                       โครงสรางของดิน ในพื้นที่ดังกลาวควรสนับสนุนดานการบริหารจัดการระบบน้ํา เชน ชลประทาน จะ

                       สรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้งถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่
                       ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม

                       เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดยแนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืช
                       ชนิดอื่น ทั้งนี้หากขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควรเปนพืชไร เพื่อที่วาใน

                       อนาคตยังสามารถกลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวดังเดิมไดอีก
                             3) พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม

                       ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสนับสนุนการปรับ
                       โครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิดใหมที่มีความ

                       เหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน หรือหรือเขา
                       โครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว แตปจจุบัน

                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว พบวาเกษตรกรปลูกพืชอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน
                       พืชไร เชน ขาว ออยโรงงาน มันสําปะหลัง เปนตน ถาในอนาคตขาวโพดเลี้ยงสัตวราคาดี เกษตรกรอาจ

                       กลับมาปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวอาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน ทําการเกษตร

                       แบบผสมผสาน แตทั้งนี้ตองพิจารณาตนทุนการผลิตและการตลาดรวมดวย
   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37