Page 28 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 28
ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
21
เมื่อวิเคราะหขอมูลศักยภาพพื้นที่รวมกับพื้นที่ปลูกพืชในปจจุบัน พบวาพื้นที่ที่ควร
สงเสริมใหมีการปรับเปลี่ยนไปปลูกยางพารา คือ บริเวณที่เปนพื้นที่ปลูกขาว (S3+N) 46,715 ไร
แตเนื่องจากยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20 ป (พ.ศ. 2560 – 2679) กําหนดที่จะลดพื้นที่ปลูกยางพารา
ประมาณ 18.4 ลานไร ดังนั้น จึงควรพิจารณาปลูกพืชเศรษฐกิจชนิดอื่นที่สอดคลองกับ
ความตองการของตลาด (ดังตารางที่ 10)
ตารางที่ 10 พื้นที่ศักยภาพในการขยายการผลิตยางพารา
ขาว (ไร)
อําเภอ
S3 N รวม
เกาะคา 7,860 1 7,860
งาว - - -
แจหม 2,657 - 2,657
เถิน 6,086 - 6,086
เมืองปาน - - -
เมืองลําปาง 18,093 550 18,643
แมทะ 2,859 - 2,859
แมพริก - - -
แมเมาะ - - -
วังเหนือ 1,131 186 1,317
สบปราบ - - -
เสริมงาม 1,532 - 1,532
หางฉัตร 5,760 - 5,760
รวม 45,978 737 46,715
4) แนวทางการจัดการ
(1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนให
เกษตรกรปลูกยางพาราตอไปเนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผล
ผลิตที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการที่
สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย เกษตรแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
พื้นที่ปลูกยางพาราในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกยางพาราใน
ที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกยางพารา ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูกยางพาราที่สําคัญ
ของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอเมืองลําปาง อําเภอเกาะคา และอําเภอหางฉัตร เปนตน