Page 34 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 34

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               27







                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกมันสําปะหลัง แตปจจุบัน
                       เกษตรกรไมไดใชพื้นที่ปลูกมันสําปะหลัง พบวาเกษตรกรปลูกขาว ภาครัฐควรใหความรูแกเกษตรกร
                       และสรางแรงจูงใจใหกลับมาปลูกมันสําปะหลังเหมือนเดิม เนื่องจากพื้นที่มีความเหมาะสม ทําใหใช

                       ตนทุนการผลิตต่ําและผลผลิตมีคุณภาพดี ทั้งนี้เกษตรกรตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         4.4  ยางพารา
                             1) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกยางพาราอยู มีเนื้อ

                       ที่ 339 ไร อยูในเขตอําเภอเมืองลําปาง อําเภอแมทะ อําเภอเกาะคา และอําเภอหางฉัตร ตาม
                       มาตรการยุทธศาสตรยางพาราระยะ 20ป ( พ.ศ. 2560- 2579) เนนใหมีการเพิ่มผลผลิตยางพาราตอ
                       ไรตอป ภายในป 2579 นั้น ควรมีการจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ ไดแก การคัดเลือกพันธุให
                       เหมาะสมกับสภาพพื้นที่และตานทานโรค การปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมี

                       ประสิทธิภาพ การปลูกพืชแซมและพืชคลุมดินใหเหมาะสมเพราะมีผลตอการเจริญเติบโตของ
                       ยางพารา การบํารุงรักษา การใสปุยการตัดแตงกิ่ง และเทคนิคการกรีดยางใหมีปริมาณน้ํายางสูงมี
                       คุณภาพและตรงตามมาตรฐานเนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูป
                       ผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความเหมาะสมสูง และสงเสริมใหเกษตรกรชาวสวนยางในพื้นที่มีความเขมแข็ง

                       มีการบริหารงานแบบมืออาชีพและสามารถถายทอดกิจการใหกับคนรุนใหม
                             2) พื้นที่ปลูกยางพาราที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกยางพารา
                       อยู มีเนื้อที่ 1,679 ไร กระจายตัวอยูอําเภอของจังหวัดพะเยา เปนพื้นที่ปลูกยางพาราที่มีขอจํากัดไมมาก

                       นัก เกษตรกรยังคงปลูกยางพาราไดผลดี ควรสนับสนุนใหมีการเพิ่มผลผลิตยางพารา โดยเนน
                       การจัดการที่เหมาะสมในเรื่องตาง ๆ เชนเดียวกันกับพื้นที่เหมาะสมสูง โดยเฉพาะการปรับปรุงบํารุง
                       ดิน เนนการพัฒนาการตลาดในพื้นที่ เชน จัดตั้งจุดรับซื้อ โรงงานแปรรูปผลิตภัณฑในพื้นที่ที่มีความ
                       เหมาะสมปานกลางใหมากขึ้น โคนยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และปลูกยางพาราทดแทนในพื้นที่
                       เดิม และมีการพัฒนาตลาดและชองทางจัดจําหนายใหมากขึ้น โดยเนนการแปรรูปยาง หรือไม

                       ยางพาราเพิ่มมากขึ้นซึ่งอาจเนนจากชุมชนที่เขมแข็งเปนพื้นที่ตนแบบ
                              3) พื้นที่ปลูกยางพาราในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกร
                       ยังคงใชที่ดินปลูกยางพาราอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา

                       กระทรวงเกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ โดยสงเสริมใหมีการโคน
                       ยางพาราที่มีอายุตั้งแต 25 ป และหาพืชอื่นทดแทน เชน สงเสริมใหปลูกไมผล มะพราว ไผหวาน มัน
                       สําปะหลัง ยาสูบ แตงโม พืชไร และพืชผักตาง ๆ ทดแทน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืช
                       ชนิดใหมที่ใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตพืชผัก บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ

                       บริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกยางพารา แตปจจุบันเกษตรกร
                       ไมไดใชพื้นที่ปลูกยางพารา พบวาเกษตรกรปลูกขาวทดแทน ในสวนนี้ภาครัฐควรใหความรูความเขาใจถึง
                       สถานการณดานการเกษตรในปจจุบัน โดยเฉพาะยางพาราเปนพืชที่มีนโยบายลดพื้นที่ปลูก เนื่องจาก

                       มีปริมาณผลผลิตมากสงผลใหราคาตกต่ํา แตในอนาคตถาราคาดีและตลาดมีความตองการเพิ่มมากขึ้น
                       อาจอาจสนับสนุนใหเกษตรกรกลับมาปลูกยางพาราในพื้นที่ดังกลาว
   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38   39