Page 25 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 25

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               18







                           2.4  ยางพารา
                                  ยางพาราเปนพืชเศรษฐกิจที่ของจังหวัดลําปางลําดับที่ 4 จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก
                       หรือ Agri-Map Online วิเคราะหขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 9 และภาพที่ 12 - 13)
                                   1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกยางพารา

                                     ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 109,212 ไร คิดเปนรอยละ
                       5.16 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 60,097 ไร อําเภอเกาะคา
                       19,763 ไร และอําเภอหางฉัตร 10,056 ไร
                                     ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 24,569 ไร คิดเปนรอยละ

                       1.16 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอหางฉัตร 6,825 ไร อําเภอเกาะคา 4,947 ไร
                       และอําเภอวังเหนือ 4,764 ไร
                                     ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 1,357,228  ไร คิดเปน
                       รอยละ 64.15 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 234,359 ไร

                       อําเภอเถิน 174,439 ไร และอําเภอแมทะ 162,216 ไร
                                     ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 624,567 ไร
                                   2) การวิเคราะหพื้นที่ปลูกยางพาราในปจจุบัน ซึ่งจําแนกตามชั้นความเหมาะสม

                       ของที่ดิน ไดดังนี้
                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 339 ไร คิดเปนรอยละ 0.31 ของพื้นที่ศักยภาพสูง
                       กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 282 ไร อําเภอแมทะ 31 ไร และอําเภอแจหม 13 ไร
                                     (2) พื้นที่เหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 1,679 ไร คิดเปนรอยละ 6.83 ของพื้นที่
                       ศักยภาพปานกลาง กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 596 ไร อําเภอวังเหนือ 222 ไร และ

                       อําเภอแมทะ 213 ไร
                                     (3) พื้นที่เหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 28,627 ไร คิดเปนรอยละ 2.11 ของพื้นที่
                       ศักยภาพเล็กนอย กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองลําปาง 6,528 ไร อําเภอเถิน 4,545 ไร และอําเภอ

                       วังเหนือ 3,387 ไร
                                     (4)  พื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 127 ไร
                                   3) พื้นที่มีศักยภาพคงเหลือ คือ พื้นที่ที่มีศักยภาพในการปลูกยางพารา แตยังไมใชพื้นที่
                       ปลูก พิจารณาจากพื้นที่ศักยภาพของที่ดินสําหรับการปลูกยางพารา และพื้นที่ปลูกยางพาราในชั้นความ

                       เหมาะสมตาง ๆ (ปลูกจริง) พบวาจังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพคงเหลือในระดับความเหมาะสมสูง (S1)
                       และความเหมาะสมปานกลาง (S2) รวมทั้งสิ้น 131,763 ไร กระจายอยูอําเภอตาง ๆ โดยอําเภอที่มีพื้นที่
                       ศักยภาพคงเหลือมากที่สุด ไดแก อําเภอเมืองลําปาง 62,789 ไร อําเภอเกาะคา 24,592 ไร อําเภอหางฉัตร
                       16,669 ไร และอําเภอเถิน 8,169 ไร โดยมีรายละเอียดดังนี้

                                     (1) พื้นที่เหมาะสมสูงคงเหลือ (S1) มีเนื้อที่ 108,873 ไร คิดเปนรอยละ 99.69 ของ
                       พื้นที่ศักยภาพสูง พบมากในอําเภออําเภอเมืองลําปาง 59,815 ไร อําเภอเกาะคา 19,753 ไร และ
                       อําเภอหางฉัตร 10,053 ไร
   20   21   22   23   24   25   26   27   28   29   30