Page 31 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 31

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               24







                       ออนหรือสีนวลบานครั้งละ 3 - 4 ดอก ผลรูปกลมมี 3 พู โดยพื้นที่จังหวัดลําปางมีพื้นที่ศักยภาพใน
                       การปลูกขมิ้นชันที่ระดับความเหมาะสมสูง (S1) ประมาณ 2,073 ไร


                       4  แนวทางการสงเสริมการปลูกพืชเศรษฐกิจ

                         4.1  ขาว
                             1) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่ 96,989 ไร

                       อยูในเขตอําเภอเมืองลําปาง อําเภอเกาะคา อําเภอแจหม และกระจายตัวในพื้นที่เล็ก ๆ ในอําเภอเถิน
                       อําเภอหางฉัตร อําเภอสบปราบ เสริมงาม แมพริก แมทะ แจหม โดยตั้งอยูในเขตชลประทาน 9 อําเภอ

                       ทั้งนี้คณะอนุกรรมการพัฒนาที่ดินจังหวัดสมควรใหมีการเสนอแผนการใชที่ดินเพื่อสงวนใหเปนแหลง
                       ผลิตขาวที่สําคัญของจังหวัด และมีการบริหารจัดการน้ําชลประทาน การจัดการดิน ปุย พันธุขาว

                       โดยรวมกลุมเปนระบบสงเสริมเกษตรแปลงใหญ พัฒนาตอยอดครบวงจรการตลาดในและตางประเทศ
                       การแปรรูป แหลงทุน มีภาครัฐสนับสนุนการทํามาตรฐานสินคาเกษตรอินทรีย และ การปฏิบัติทาง
                       การเกษตรที่ดี (Good Agricultural Practices: GAP)  และเนื่องจากเปนพื้นที่ศักยภาพสูง การปลูกพืช

                       หลังนาจะชวยใหเกษตรกรมีรายไดเพิ่มขึ้น และเปนการปรับปรุงบํารุงดิน
                             2) พื้นที่ปลูกขาวที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูกขาวอยู มีเนื้อที่มาก

                       ถึง  166,667 ไร กระจายตัวอยูเกือบทั้งจังหวัดลําปาง เปนพื้นที่ปลูกขาวที่มีขอจํากัดไมมากนัก เกษตรกร
                       ยังคงปลูกขาวไดผลดี หลายแหงประสบปญหาขาดน้ําในบางชวงของการเพาะปลูก ควรสนับสนุนดาน

                       การบริหารจัดการน้ํา เชน ชลประทาน จะสรางความมั่นใจใหกับเกษตรกรในการใชที่ดิน ปญหาการทิ้ง
                       ถิ่นฐานไปทํางานที่อื่นจะลดลง และพื้นที่ในเขตนี้มีความเหมาะสมสําหรับการเกษตรแบบผสมผสาน

                       เกษตรแมนยําหรือเกษตรทฤษฎีใหม เปนตน และภาครัฐควรใหความรูความเขาใจกับเกษตรกรโดย
                       แนะนําวาไมควรปรับเปลี่ยนไปปลูกพืชชนิดอื่น หากขาวราคาไมดีและตองการปรับเลี่ยนการผลิตควร
                       เปนพืชไร เพื่อที่วาในอนาคตยังสามารถกลับมาทํานาไดอีก

                             3) พื้นที่ปลูกขาวที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบันเกษตรกรยังคงใชที่ดิน
                       ปลูกขาวอยู มีประมาณ 307,164 ไร ซึ่งประสบปญหาน้ําทวมซ้ําซาก ขาดน้ํา ผลผลิตต่ํา กระทรวง

                       เกษตรและสหกรณใหการชวยเหลือเกษตรกรที่ทํากินในพื้นที่นี้ เนื่องจากเปนพื้นที่ไมเหมาะสม โดย
                       สนับสนุนการปรับโครงสรางที่ดิน ปรับปรุงบํารุงดิน สนับสนุนแหลงน้ํา ใหเกษตรกรเลือกปลูกพืชชนิด
                       ใหมที่มีความเหมาะสม และใหผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อบริโภคในครัวเรือน

                       หรือเขาโครงการบริหารจัดการพื้นที่เกษตรกรรม (Zoning by Agri-Map) เปนตน
                             4) พื้นที่ที่มีศักยภาพหรือมีความเหมาะสมสําหรับการปลูกขาว แตปจจุบันเกษตรกรไมไดใช

                       พื้นที่ปลูกขาว โดยมาปลูกพืชชนิดอื่นทดแทน ทั้งนี้หากพืชที่ปลูกเปน ขาวโพดเลี้ยงสัตว ในอนาคต
                       ขาวราคาดี เกษตรกรอาจกลับมาปลูกขาวไดเหมือนเดิม แตหากเปนไมผลหรือไมยืนตน การกลับมาปลูกขาว

                       อาจเปนเรื่องยาก ดังนั้นอาจสงเสริมในเรื่องของการทําเกษตรรูปแบบอื่น เชน เกษตรผสมผสาน
   26   27   28   29   30   31   32   33   34   35   36