Page 33 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดลำปาง
P. 33

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน
                                                               26







                         4.3  มันสําปะหลัง
                             1) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมสูง (S1) และปจจุบันยังปลูกมันสําปะหลัง
                       อยู มีเนื้อที่ 4 ไร มีพื้นที่ปลูกในเขตอําเภอวังเหนือ ซึ่งตามมาตรการยุทธศาสตรมันสําปะหลัง 2564 -

                       2567 เนนใหเกษตรกรเขาถึงพันธุมันสําปะหลังตานทานโรค ใบดาง (Cassava Mosaic Disease: CMD)
                       ใหเชื้อแปงสูง และมีผลผลิตเฉลี่ยตอไรไมต่ํากวา 5 ตัน ภายในป 2567 นั้น โดยเนนการเพิ่มผลผลิตมัน

                       สําปะหลังและลดตนทุนการผลิตในพื้นที่ที่มีศักยภาพสูง ดังนั้นในพื้นที่ดังกลาวควรเรงหาแนว
                       ทางแกไขปญหาโรคโคนเนาหัวเนา และโรคใบดางมันสําปะหลัง อีกทั้งควรมีการสงเสริมการทําระบบ

                       น้ําหยดในพื้นที่ที่มีศักยภาพ มีการปรับปรุงบํารุงดิน การใสปุยที่ถูกตองและมีประสิทธิภาพ ทําการ
                       วิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน

                       การแปรรูปมันเสนสะอาด สรางความรวมมือระหวางเกษตรกรและโรงงาน เพื่อวางแผนการขุดของ
                       เกษตรกร ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม ใชทอนพันธุที่
                       ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง เขารวมโครงการระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ และสงเสริม

                       ใหเกษตรกรเปน Smart Farmer รวมทั้งประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และ
                       ระยะเวลาที่เหมาะสม

                             2) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) และปจจุบันยังปลูก
                       มันสําปะหลังอยู มีเนื้อที่ 13,711 ไร กระจายอยูในเขต อําเภอเมืองลําปาง อําเภอหางฉัตร และ อําเภอเถิน

                       เกษตรกรยังคงปลูกมันสําปะหลังไดผลดี หลายแหงประสบปญหาโครงสรางของดินหรือดินดาน ทั้งนี้ควร
                       พัฒนาศักยภาพของพื้นที่ใหมากขึ้น ในเรื่องของคุณภาพดิน และ ทําการตรวจวิเคราะหคุณภาพดินอยูเสมอ

                       สงเสริมใหมีการใสปุยตามคาวิเคราะหดิน ซึ่งอาจตองใชปุยสั่งตัด สรางความรูความเขาใจใหกับเกษตรกร
                       ในการจัดการพื้นที่ การปลูก การดูแลรักษา การปองกันโรค แมลงศัตรูพืช และการเก็บเกี่ยว สงเสริมการใช
                       ทอนพันธุที่ตานทานโรค และใหผลผลิตสูง พัฒนาระบบน้ําหยดและการใชน้ําจากแหลงน้ําในพื้นที่ ใหมีการ

                       ใชประโยชนกับมันสําปะหลังใหมากที่สุด สงเสริมเกษตรกรแปรรูปมันสําปะหลังเบื้องตนเพื่อเพิ่มมูลคา เชน
                       การแปรรูปมันเสนสะอาด ประชาสัมพันธใหเกษตรกรเก็บเกี่ยวในชวงอายุ และระยะเวลาที่เหมาะสม

                             3) พื้นที่ปลูกมันสําปะหลังในพื้นที่ไมมีความเหมาะสม (S3 และ N) และปจจุบัน
                       เกษตรกรยังคงใชที่ดินปลูกมันสําปะหลังอยู พื้นที่ดังกลาวประสบปญหาซ้ําซาก เชน น้ําทวม ขาดน้ํา
                       ผลผลิตต่ํา ดังนั้นควรมีการสงเสริมและสรางความรูความเขาใจในการไถระเบิดดินดาน ใหเกษตรกรมี

                       วิธีปองกันและแกไขปญหาที่ลดตนทุน ใหการชวยเหลือเกษตรกรที่เลือกปลูกพืชชนิดใหมที่ให
                       ผลตอบแทนที่ดีกวา หรือใชพื้นที่ผลิตอาหารเพื่อ บริโภคในครัวเรือน หรือเขาโครงการ ปรับเปลี่ยน

                       การผลิต (Zoning by Agri-Map) เปนตน ทั้งนี้ควรจัดหาตลาดใหกับเกษตรกรในการปลูกพืชไร หรือ
                       พืชผักทดแทน โดยอาจเริ่มจากตลาดชุมชน
   28   29   30   31   32   33   34   35   36   37   38