Page 19 - แนวทางการส่งเสริมการเกษตรที่เหมาะสมตามฐานข้อมูลแผนที่เกษตรเชิงรุก Agri-Map จังหวัดแม่ฮ่องสอน
P. 19

ห้องสมุดกรมพัฒนาที่ดิน

                                                               12








                              4) แนวทางการจัดการ
                                (1) พื้นที่ที่มีความเหมาะสมควรสงเสริมการผลิต (S1 หรือ S2) ควรสนับสนุนใหเกษตรกร
                       ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวตอไป เนื่องจากเปนพื้นที่ที่เหมาะสม สามารถชวยลดตนทุนการผลิตและไดผลผลิต
                       ที่มีคุณภาพดี ซึ่งการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในพื้นที่ดังกลาวขางตนสามารถนําไปสูการตอยอดโครงการ

                       ที่สําคัญตาง ๆ ได เชน เกษตรอินทรีย ระบบสงเสริมการเกษตรแบบแปลงใหญ เกษตรแมนยํา เปนตน
                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมสูง (S1) คือพื้นที่ปลูกขาวโพด
                       เลี้ยงสัตวในที่ดินที่ไมมีขอจํากัดทางกายภาพตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว ซึ่งควรสงวนไวเปนแหลงปลูก

                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวที่สําคัญของจังหวัด กระจายอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน และอําเภอปางมะผา
                                  พื้นที่ปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตวในบริเวณที่มีความเหมาะสมปานกลาง (S2) คือพื้นที่ปลูก
                       ขาวโพดเลี้ยงสัตวในที่ดินที่มีขอจํากัดทางกายภาพบางประการตอการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว เชน
                       ความอุดมสมบูรณของดิน ความเปนกรดเปนดาง ความชื้น กระจายอยูในอําเภอปาย อําเภอขุนยวม และ

                       อําเภอแมลานอย
                                (2) พื้นที่ที่ควรปรับเปลี่ยนการผลิตในพื้นที่ไมเหมาะสม (S3 หรือ N) ควรสนับสนุนใหเขา
                       โครงการปรับเปลี่ยนการผลิต เชน เปลี่ยนชนิดพืชที่มีความเหมาะสมกวาการปลูกขาวโพดเลี้ยงสัตว
                       มีตนทุนที่ต่ํา และใหผลตอบแทนที่ดีกวา แตทั้งนี้ตองพิจารณาแหลงรับซื้อรวมดวย

                         2.3  ลําไย

                              ลําไยเปนพืชเศรษฐกิจที่สําคัญของจังหวัดแมฮองสอน พื้นที่ปลูกสวนใหญอยูในพื้นที่
                       อําเภอแมสะเรียง และอําเภอปาย จากฐานขอมูลในแผนที่เกษตรเชิงรุก หรือ Agri-Map Online วิเคราะห
                       ขอมูลไดดังนี้ (ตารางที่ 7 และภาพที่ 10 - 11)
                              1) การวิเคราะหศักยภาพของพื้นที่ปลูกลําไย

                                ระดับที่ 1 เปนพื้นที่ความเหมาะสมสูง (S1) มีเนื้อที่ 11,848 ไร คิดเปนรอยละ 5.79
                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน 3,393 ไร อําเภอแมสะเรียง
                       3,109 ไร และอําเภอปาย 2,280 ไร
                                ระดับที่ 2 เปนพื้นที่ความเหมาะสมปานกลาง (S2) มีเนื้อที่ 69,527 ไร คิดเปนรอยละ

                       33.96 ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอปาย 29,409 ไร อําเภอแมสะเรียง
                       14,977 ไร และอําเภอขุนยวม 9,800 ไร
                                ระดับที่ 3 เปนพื้นที่ความเหมาะสมเล็กนอย (S3) มีเนื้อที่ 3,162 ไร คิดเปนรอยละ 1.55

                       ของพื้นที่ศักยภาพของที่ดิน กระจายตัวมากอยูในอําเภอเมืองแมฮองสอน 1,665 ไร อําเภอปาย 712 ไร
                       และอําเภอขุนยวม 586 ไร
                                ระดับที่ 4 เปนพื้นที่ไมเหมาะสม (N) มีเนื้อที่ 120,173 ไร
   14   15   16   17   18   19   20   21   22   23   24